ตำราแพทย ยุ คหลั งสงครามโลกครั้ งที่ ๒ จนถึ ง ป พ.ศ. ๒๕๐๐
พิ พิ ธภั ณฑ ในศิ ริ ราช เมื่ อกล าวถึ งพิ พิ ธภั ณฑ คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ราชพยาบาล ได จั ดตั้ งพิ พิ ธภั ณฑ ทางการแพทย มากมายหลายแห ง ตั้ งอยู ภายในอาคารของหลายภาควิ ชา ได แก ๑. พิ พิ ธภั ณฑ กายวิ ภาค-คองดอนทางการแพทย ๒. พิ พิ ธภั ณฑ นิ ติ เวชวิ ทยา สงกรานต นิ ยมเสน ๓. พิ พิ ธภั ณฑ และห องปฏิ บั ติ การเรื่ องราวก อนประวั ติ - ศาสตร สุ ด แสงวิ เชี ยร ๔. พิ พิ ธภั ณฑ ประวั ติ การแพทย ไทย อวย เกตุ สิ งห ๕. พิ พิ ธภั ณฑ พยาธิ วิ ทยาเอลลิ ส ๖. พิ พิ ธภั ณฑ ปรสิ ตวิ ทยา ๗. พิ พิ ธภั ณฑ การแพทย ศิ ริ ราช เมื่ อเวลาผ านไป การอาลั ยต อสิ่ งที่ ล วงมาแล ว ย อมไม สามารถเปลี่ ยนแปลงอะไรได แต ถ าเรารู จั กนำมั นมาเป น บทเรี ยนเตื อนตั วเอง หรื อเตื อนให อนุ ชนรุ นหลั ง เป นตั วอย าง ทั้ งดี และเลว ดั งเช นเรื่ องราวการก อตั้ งศิ ริ ราช จากอดี ตถึ ง ป จจุ บั น แม มี อุ ปสรรคต างๆ นานา แต ศิ ริ ราชก็ สามารถพั ฒนา ก าวข ามกาลเวลา พั ฒนาความรู ทางการแพทย จนเจริ ญ ก าวหน าทั ดเที ยมอารยะประเทศ อั นเป นผลให รั ฐบาลมี นโยบายให ประเทศไทยเป น “ศู นย กลางทางการแพทย แห ง เอเชี ยตะวั นออกเฉี ยงใต ” เลยที เดี ยว ขอขอบคุ ณ คุ ณอรรถชั ย ลิ้ มเลิ ศเจริ ญวนิ ช ผู พาผู เขี ยนเยี่ ยมชมพิ พิ ธภั ณฑ ของโรงพยาบาลศิ ริ ราช
ศ.นพ.เฟ อง สั ตย สงวน อาจารย ผู บุ กเบิ กวิ ชาออร โธป ดิ กส ได เขี ยนตำราภาษาไทยชื่ อ “คำบรรยายวิ ชาโอโถป ดิ กกั บโรค กระดู กหั ก และข อเคลื่ อน สำหรั บนั กศึ กษาแพทย ” หนั งสื อ เล มนี้ ได รั บความร วมมื อในการจั ดทำจากนั กศึ กษาแพทย ในป พ.ศ. ๒๔๙๘ ศ.นพ.สวั สดิ์ แดงสว าง และ ศ.นพ.ประดิ ษฐ ตั นสุ รั ต ก็ ได เขี ยนตำราปรสิ ตเล มสำคั ญขึ้ นอี กหนึ่ งเล ม ตำราแพทย ยุ คหลั งพ.ศ. ๒๕๐๐ เป นตำราที่ อาจารย แพทย เขี ยน และจั ดพิ มพ โดยสโมสรนั กศึ กษาแพทย นอกจากนี้ ในวั นที่ ๒๒ กุ มภาพั นธ พ.ศ. ๒๕๑๖ ได จั ดตั้ งคณะกรรมการ แพทยศาสตร ศิ ริ ราชพยาบาล และอนุ มั ติ โครงการตำราศิ ริ ราช มี อาจารย จากภาควิ ชาการต างๆ เป นผู เขี ยน ทำให มี ตำรา ราคาถู กและมี คุ ณภาพ สิ่ งแสดงเพื่ อการศึ กษา จากการที่ รั ฐบาลไทยได ร วมมื อกั บมู ลนิ ธิ ร็ อคกี้ เฟลเลอร ปรั บปรุ งการเรี ยนการสอนวิ ชาแพทย ทางมู ลนิ ธิ ได ส ง ศาสตราจารย ดร. อี .ดี คองดอน (Prof. Dr. E.D .Congdon) มาเป นกำลั งสำคั ญในการพั ฒนาการเรี ยนวิ ชากายวิ ภาคศาสตร เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๗๓ ในการประชุ มวิ ชาการเวชกรรม เขตร อนครั้ งที่ ๘ ที่ จุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย ศาสตราจารย คองดอน และผู ช วยคื อ อาจารย ลิ้ ม จุ ลละพั นธุ และนั กศึ กษา แพทย รุ นนั้ น ได ร วมกั นชำแหละส วนต างๆ ของร างกายมนุ ษย แล วระบายสี หลอดเลื อด และเส นประสาท ด วยสี น้ ำที่ ละลาย ในไข ขาว (Albuminous paint) และส งไปแสดงในงานประชุ ม วิ ชาการนี้ ต อมาได รวบรวมจั ดแสดงเป นห องพิ พิ ธภั ณฑ หลั งจากท านศาสตราจารย เดิ นทางกลั บสหรั ฐอเมริ กาไปแล ว อาจารย ผู รั บผิ ดชอบภาควิ ชาต างๆ ก็ ยั งรวบรวมสิ่ งแสดงต างๆ เพิ่ มมากขึ้ นเรื่ อยๆ เช น ศ.นพ. สุ ด แสงวิ เชี ยร ผู ดำรงตำแหน ง หั วหน าภาควิ ชากายวิ ภาคศาสตร คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ราช พยาบาล ท านได รวบรวมสิ่ งแสดงไว เป นจำนวนมาก และได เป นผู นำวิ ธี ใช สี ทาบ านระบายลงบนสิ่ งแสดง (Brush Lacquer) แล วแช ไว ในสารฟอร มาลี นที่ บรรจุ อยู ในบรรจุ ภั ณฑ พลาสติ ก บรรจุ ภั ณฑ นี้ ยั งสามารถขยายได ตามขนาดสิ่ งของ แม กระทั่ ง ร างกายของคนทั้ งร างก็ บรรจุ ได จากเดิ มที่ จะต องเก็ บไว ใน แอลกอฮอล และอยู ในภาชนะแก วเท านั้ น ทั้ งนี้ เพื่ อเป น อนุ สรณ แห งคุ ณงามความดี ของศาสตราจารย ดร. อี .ดี คองดอน ทางคณะแพทยศาสตร ศิ ริ ราชพยาบาล จึ งได จั ดตั้ ง พิ พิ ธภั ณฑ กายวิ ภาคคองดอนขึ้ น และเป ดในวั นที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๑
Powered by FlippingBook