Quarter 1/2014

ตำราแพทย ยุ คหลั งสงครามโลกครั้ งที่ ๒ จนถึ ง ป พ.ศ. ๒๕๐๐

พิ พิ ธภั ณฑ ในศิ ริ ราช เมื่ อกล าวถึ งพิ พิ ธภั ณฑ คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ราชพยาบาล ได จั ดตั้ งพิ พิ ธภั ณฑ ทางการแพทย มากมายหลายแห ง ตั้ งอยู ภายในอาคารของหลายภาควิ ชา ได แก ๑. พิ พิ ธภั ณฑ กายวิ ภาค-คองดอนทางการแพทย ๒. พิ พิ ธภั ณฑ นิ ติ เวชวิ ทยา สงกรานต นิ ยมเสน ๓. พิ พิ ธภั ณฑ และห องปฏิ บั ติ การเรื่ องราวก อนประวั ติ - ศาสตร สุ ด แสงวิ เชี ยร ๔. พิ พิ ธภั ณฑ ประวั ติ การแพทย ไทย อวย เกตุ สิ งห ๕. พิ พิ ธภั ณฑ พยาธิ วิ ทยาเอลลิ ส ๖. พิ พิ ธภั ณฑ ปรสิ ตวิ ทยา ๗. พิ พิ ธภั ณฑ การแพทย ศิ ริ ราช เมื่ อเวลาผ านไป การอาลั ยต อสิ่ งที่ ล วงมาแล ว ย อมไม สามารถเปลี่ ยนแปลงอะไรได แต ถ าเรารู จั กนำมั นมาเป น บทเรี ยนเตื อนตั วเอง หรื อเตื อนให อนุ ชนรุ นหลั ง เป นตั วอย าง ทั้ งดี และเลว ดั งเช นเรื่ องราวการก อตั้ งศิ ริ ราช จากอดี ตถึ ง ป จจุ บั น แม มี อุ ปสรรคต างๆ นานา แต ศิ ริ ราชก็ สามารถพั ฒนา ก าวข ามกาลเวลา พั ฒนาความรู ทางการแพทย จนเจริ ญ ก าวหน าทั ดเที ยมอารยะประเทศ อั นเป นผลให รั ฐบาลมี นโยบายให ประเทศไทยเป น “ศู นย กลางทางการแพทย แห ง เอเชี ยตะวั นออกเฉี ยงใต ” เลยที เดี ยว ขอขอบคุ ณ คุ ณอรรถชั ย ลิ้ มเลิ ศเจริ ญวนิ ช ผู พาผู เขี ยนเยี่ ยมชมพิ พิ ธภั ณฑ ของโรงพยาบาลศิ ริ ราช

ศ.นพ.เฟ อง สั ตย สงวน อาจารย ผู บุ กเบิ กวิ ชาออร โธป ดิ กส ได เขี ยนตำราภาษาไทยชื่ อ “คำบรรยายวิ ชาโอโถป ดิ กกั บโรค กระดู กหั ก และข อเคลื่ อน สำหรั บนั กศึ กษาแพทย ” หนั งสื อ เล มนี้ ได รั บความร วมมื อในการจั ดทำจากนั กศึ กษาแพทย ในป พ.ศ. ๒๔๙๘ ศ.นพ.สวั สดิ์ แดงสว าง และ ศ.นพ.ประดิ ษฐ ตั นสุ รั ต ก็ ได เขี ยนตำราปรสิ ตเล มสำคั ญขึ้ นอี กหนึ่ งเล ม ตำราแพทย ยุ คหลั งพ.ศ. ๒๕๐๐ เป นตำราที่ อาจารย แพทย เขี ยน และจั ดพิ มพ โดยสโมสรนั กศึ กษาแพทย นอกจากนี้ ในวั นที่ ๒๒ กุ มภาพั นธ พ.ศ. ๒๕๑๖ ได จั ดตั้ งคณะกรรมการ แพทยศาสตร ศิ ริ ราชพยาบาล และอนุ มั ติ โครงการตำราศิ ริ ราช มี อาจารย จากภาควิ ชาการต างๆ เป นผู เขี ยน ทำให มี ตำรา ราคาถู กและมี คุ ณภาพ สิ่ งแสดงเพื่ อการศึ กษา จากการที่ รั ฐบาลไทยได ร วมมื อกั บมู ลนิ ธิ ร็ อคกี้ เฟลเลอร ปรั บปรุ งการเรี ยนการสอนวิ ชาแพทย ทางมู ลนิ ธิ ได ส ง ศาสตราจารย ดร. อี .ดี คองดอน (Prof. Dr. E.D .Congdon) มาเป นกำลั งสำคั ญในการพั ฒนาการเรี ยนวิ ชากายวิ ภาคศาสตร เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๗๓ ในการประชุ มวิ ชาการเวชกรรม เขตร อนครั้ งที่ ๘ ที่ จุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย ศาสตราจารย คองดอน และผู ช วยคื อ อาจารย ลิ้ ม จุ ลละพั นธุ และนั กศึ กษา แพทย รุ นนั้ น ได ร วมกั นชำแหละส วนต างๆ ของร างกายมนุ ษย แล วระบายสี หลอดเลื อด และเส นประสาท ด วยสี น้ ำที่ ละลาย ในไข ขาว (Albuminous paint) และส งไปแสดงในงานประชุ ม วิ ชาการนี้ ต อมาได รวบรวมจั ดแสดงเป นห องพิ พิ ธภั ณฑ หลั งจากท านศาสตราจารย เดิ นทางกลั บสหรั ฐอเมริ กาไปแล ว อาจารย ผู รั บผิ ดชอบภาควิ ชาต างๆ ก็ ยั งรวบรวมสิ่ งแสดงต างๆ เพิ่ มมากขึ้ นเรื่ อยๆ เช น ศ.นพ. สุ ด แสงวิ เชี ยร ผู ดำรงตำแหน ง หั วหน าภาควิ ชากายวิ ภาคศาสตร คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ราช พยาบาล ท านได รวบรวมสิ่ งแสดงไว เป นจำนวนมาก และได เป นผู นำวิ ธี ใช สี ทาบ านระบายลงบนสิ่ งแสดง (Brush Lacquer) แล วแช ไว ในสารฟอร มาลี นที่ บรรจุ อยู ในบรรจุ ภั ณฑ พลาสติ ก บรรจุ ภั ณฑ นี้ ยั งสามารถขยายได ตามขนาดสิ่ งของ แม กระทั่ ง ร างกายของคนทั้ งร างก็ บรรจุ ได จากเดิ มที่ จะต องเก็ บไว ใน แอลกอฮอล และอยู ในภาชนะแก วเท านั้ น ทั้ งนี้ เพื่ อเป น อนุ สรณ แห งคุ ณงามความดี ของศาสตราจารย ดร. อี .ดี คองดอน ทางคณะแพทยศาสตร ศิ ริ ราชพยาบาล จึ งได จั ดตั้ ง พิ พิ ธภั ณฑ กายวิ ภาคคองดอนขึ้ น และเป ดในวั นที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๑

Powered by