quarter 4/2015

หลั กฐานจากการขุ ดแต งทางโบราณคดี พบว า พระประโทณเจดี ย หลั งจากมี การก อสร างในสมั ยทวารวดี เมื่ อราวพุ ทธศตวรรษที่ ๑๓ แล ว คงมี การบู รณะ โดยการก อพอกเพิ่ มเติ มจากเดิ มที่ เป นฐานซ อนสองชั้ น เป นสามชั้ นและสร างบั นไดเพิ่ ม แต การก อสร างดั งกล าว คงมี ระยะไม ห างจากการก อสร างครั้ งแรกมากนั ก และ ต อมาคงถู กทิ้ งร างไปนาน จนในสมั ยอยุ ธยาตอนปลาย จึ งมี การเกลี่ ยอิ ฐบนยอดเนิ นเจดี ย ที่ พั งทลายลงมาแล ว และสร างพระปรางค ขึ้ นไว บนยอดด านบน ดั งที่ ปรากฏ จากสมุ ดภาพไตรภู มิ ดั งที่ ได กล าวถึ งมาแล ว ศาสตราจารย ดร.สั นติ เล็ กสุ ขุ ม ผู เชี่ ยวชาญด าน ประวั ติ ศาสตร ศิ ลปะไทย ได ให ข อสั นนิ ษฐานของรู ปทรง เจดี ย สมั ยทวารวดี ที่ พระประโทณเจดี ย ในบทความ เรื่ อง “รู ปแบบสั นนิ ษฐานจากซากเจดี ย สมั ยทวารวดี ที่ นครปฐม” ไว อย างน าสนใจว า “...รู ปแบบที่ น าเป น ไปได ได แก ส วนล างฐาน ๒ ชั้ นซ อนลดหลั่ น ชั้ นบนมี ยอดบริ วารประจำมุ มบนลาน ลานฐานกว างของชั้ นนี้ รองรั บส วนกลาง ซึ่ งมี จระนำประดิ ษฐานพระพุ ทธรู ป มุ มบนทั้ งสี่ ของส วนกลางมี ยอดบริ วารประจำมุ มด วย เช นกั น ส วนบนมี ยอดบริ วารและประธานทรงมะนาว ตั ด...”

รู ปลั กษณะ...พระประโทณเจดี ย แต เดิ มนั้ น พระประโทณเจดี ย มี ลั กษณะเป น เนิ นดิ นสู งใหญ โดยมี พระปรางค ขนาดย อมอยู บนยอด ต อมาในป พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๐ กรมศิ ลปากรโดย สำนั กศิ ลปากรที่ ๒ สุ พรรณบุ รี ได ดำเนิ นการขุ ดแต ง และบู รณะโบราณสถานแห งนี้ ผลการขุ ดแต งทาง โบราณคดี พบว า บริ เวณใต เนิ นดิ นด านล างเป น ฐานเจดี ย สมั ยทวารวดี ขนาดใหญ ที่ มี อายุ กว าพั นป มาแล วหลงเหลื ออยู ภายใน ลั กษณะของฐานเจดี ย สมั ยทวารวดี ที่ ขุ ดค นพบ เริ่ มต นจากลานปู อิ ฐ ซึ่ งบริ เวณมุ มทั้ งสี่ ของเจดี ย มี ฐาน ทรงกลมรู ปทรงคล ายดอกบั วบาน เส นผ านศู นย กลาง ประมาณ ๕๐ เซนติ เมตร อยู โดยสั นนิ ษฐานว าอาจเป น หลั กมุ มเขตศั กดิ์ สิ ทธิ์ หรื อเสาโคมไฟก็ เป นได พระประโทณสมั ยทวารวดี มี ฐานเริ่ มต นเป นฐาน เขี ยงเรี ยบ รองรั บฐานยกเก็ จซ อนกั นสองชั้ น จากนั้ น จึ งเป นลานประทั กษิ ณที่ มี เจดี ย ประจำมุ มทั้ งสี่ มุ ม ส วนกลางเป นฐานย อเก็ จสี่ เหลี่ ยม ที่ ตรงกลางทำเป น จระนำเว าเข าไป โดยแต เดิ มอาจประดิ ษฐานพระพุ ทธรู ป ยื นในแต ละซุ ม ส วนต อขึ้ นไปพั งทลายไปมากจนยาก ที่ จะสั นนิ ษฐานรู ปแบบแน ชั ด ด านบนสุ ดเป นเจดี ย ทรงปรางค ที่ สร างในสมั ยอยุ ธยาตอนปลายและอาจมี การบู รณะเพิ่ มเติ มในสมั ยรั ตนโกสิ นทร ตอนต นด วย บริ เวณกึ่ งกลางของเจดี ย แต ละด าน มี บั นไดก อด วย อิ ฐเพื่ อใช เป นทางขึ้ นสู ลานประทั กษิ ณดั งที่ กล าวมาแล ว แต สิ่ งที่ น าสั งเกตคื อ บั นไดดั งกล าวไม น าจะสร าง พร อมกั บเจดี ย สมั ยแรก เนื่ องจากเป นการทำบั นได ไปแปะติ ดไว กั บผนั งเจดี ย เท านั้ น

รู ปลั กษณ สั นนิ ษฐานของเจดี ย พระประโทณ ในสมั ยทวารวดี (ภาพสั นนิ ษฐาน โดย ศาสตราจารย ดร. สั นติ เล็ กสุ ขุ ม)

Powered by