Quarter 2/2017

ดร.อดิ ศั กดิ์ แจ งกมลกุ ลชั ย ผู จั ดการ โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา

ซึ่ งหนึ่ งในผู ที่ เล็ งเห็ นความสำคั ญของป าชายเลน แหลมฉบั งคื อ โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา ซึ่ งได จั ด กิ จกรรมปลู กป า เพื่ อปลู กจิ ตสำนึ กให เด็ กและเยาวชน ได ตระหนั กถึ งความสำคั ญของทรั พยากรธรรมชาติ ดร.อดิ ศั กดิ์ แจ งกมลกุ ลชั ย กรรมการและผู จั ดการ โรงกลั่ นน้ ำมั นเอสโซ ศรี ราชา ได เล าถึ งการเข ามาช วย ดู แลและร วมอนุ รั กษ ป าชายเลนผื นสุ ดท ายของ แหลมฉบั งว า โครงการดั งกล าวเริ่ มขึ้ นตั้ งแต ป ๒๕๔๖ จากสำนึ กรั กบ านเกิ ดของคนในชุ มชน ที่ ต องการพั ฒนา สิ่ งแวดล อมในพื้ นที่ อย างยั่ งยื น ได มี การจั ดตั้ งกลุ ม อนุ รั กษ ตั้ งแต การเก็ บขยะที่ ทั บถมกั นมายาวนาน หลายป จนทำให ลำคลองตื้ นเขิ น ได มี การขุ ดลอกคลอง ทำกิ จกรรมปลู กป าอย างต อเนื่ อง และสร างความ ผู กพั นระหว างป ากั บคน ผู ปลู กมี ความผู กพั นกั บต นไม ที่ ปลู ก จากนั้ นทางบริ ษั ทฯ ได เห็ นถึ งความตั้ งใจของกลุ ม อนุ รั กษ ป าชายเลนแหลมฉบั ง จึ งได เชิ ญเทศบาล นครแหลมฉบั ง มหาวิ ทยาลั ยบู รพา และประชาชน ในชุ มชนบ านแหลมฉบั ง ร วมกั นตั้ งกลุ ม “เยาวชนรั กถิ่ น รั กษ สิ่ งแวดล อม” เพื่ อพั ฒนาพื้ นที่ ป าชายเลน โดยมี เยาวชนเป นจุ ดเริ่ มต น จากนั้ นจึ งจั ดให มี การเข าค าย ฝ กอบรม เพื่ อให ความรู และความเข าใจเกี่ ยวกั บสภาพ แวดล อมในพื้ นที่ ป าชายเลน “ในอดี ต ป าชายเลนของชุ มชนบ านแหลมฉบั ง ยั งไม มี สภาพสมบู รณ เช นป จจุ บั นนี้ แต เมื่ อเกิ ดการมี ส วนร วมของคนในชุ มชน และองค กรต างๆ รอบชุ มชน แหลมฉบั ง พื้ นที่ ป าก็ กลั บคื นสภาพดี ขึ้ นมาเรื่ อยๆ ในแต ละป ได มี การจั ดกิ จกรรมปลู กป า การปล อยพั นธุ สั ตว น้ ำและปลาตี น เพื่ อสร างคุ ณภาพที่ ดี ของสิ่ งแวดล อม ที่ จะสั งเกตได ง ายคื อ การเข ามาอาศั ยของสั ตว ทะเล”

ป าชายเลน ถื อว ามี ความสำคั ญต อประชาชนและ ประเทศเป นอย างมาก เนื่ องจากเป นทรั พยากร ธรรมชาติ ที่ มี คุ ณค ามหาศาล ทั้ งในด านป าไม ประมง สั งคม สิ่ งแวดล อมและเศรษฐกิ จ จากการสำรวจในป ๒๕๔๗ โดยกรมทรั พยากรทางทะเลและชายฝ งพบว า ประเทศไทยมี พื้ นที่ ป าชายเลนมากเป นอั นดั บต นๆ ใน ภู มิ ภาคเอเชี ย แต ในป จจุ บั นได ถู กเปลี่ ยนไปใช ประโยชน ในด านอื่ นๆ จนทำให ป าชายเลนลดจำนวนลงอย าง ต อเนื่ อง จั งหวั ดชลบุ รี มี ภู มิ ประเทศที่ เป นชายฝ งทะเล ซึ่ งในอดี ตเคยมี พื้ นที่ ป าชายเลนมากแห งหนึ่ งของ ประเทศไทย แต ป จจุ บั นแทบจะไม หลงเหลื อให เห็ น มากนั ก เนื่ องจากการขยายตั วทางเศรษฐกิ จ การทำลาย จากคนที่ อยู อาศั ย ทั้ งทิ้ งขยะลงทะเล และการปล อย น้ ำเสี ยของโรงงานอุ ตสาหกรรม โดยไม คำนึ งถึ ง ธรรมชาติ และสิ่ งแวดล อมที่ มี ความสำคั ญ ป าชายเลนแหลมฉบั ง ถู กล อมรอบด วยโรงงาน อุ ตสาหกรรม ตามนโยบายการพั ฒนาพื้ นที่ ชายฝ ง ทะเลของรั ฐบาล อย างไรก็ ตามธรรมชาติ ที่ ถู กทำลาย ก็ สามารถฟ นคื นกลั บสู สภาพเดิ มได หากทุ กฝ ายช วยกั น ดู แลรั กษาให ทรั พยากรธรรมชาติ ที่ มี คุ ณค ามหาศาล ได คงอยู ต อไป

Powered by