Quarter 2/2014

ความหนั ก ความนาน และความบ อยของการวิ่ ง ความหนั กหรื อความเร็ ว ควรใช ความเร็ วที่ ทำให รู สึ กเหนื่ อยจนต องหายใจแรง แต ไม ถึ งกั บต องหายใจ ทางปากหรื อมี อาการหอบ เมื่ อวิ่ งไปแล ว ๔–๕ นาที ควรมี เหงื่ อออก ยกเว นในอากาศเย็ นจั ดอาจยั งไม มี แต สามารถวิ่ งต อไปได เกิ น ๑๐ นาที อาจใช ความเร็ วคงที่ ตลอดระยะทางหรื อจะวิ่ งเร็ วสลั บช าบ างก็ ได แต การวิ่ ง ติ ดต อกั นโดยไม หยุ ดถึ ง ๑๐ นาที เป นสิ่ งที่ ไม ง ายนั ก สำหรั บผู ที่ ไม ได เล นกี ฬาหรื อวิ่ งเป นประจำอยู ก อน ฉะนั้ นผู ที่ เริ่ มวิ่ งทุ กคนจึ งไม ควรตั้ งความหวั งสำหรั บการ วิ่ งครั้ งแรกไว ว า จะวิ่ งให ได ตลอดมากกว า ๑๐ นาที โดย ไม สลั บด วยการเดิ น ความจริ งแล วการวิ่ งสลั บกั บการเดิ นยาวๆ โดยไม หยุ ดในวั นแรกๆ เป นสิ่ งถู กต อง เพราะเป นการผ อน คลายร างกายที่ ไม ทำให เกิ ดความเครี ยดมากจนเกิ นไป แต ในวั นต อๆ ไปควรเพิ่ มระยะเวลาของการวิ่ งให มาก ขึ้ น และลดระยะเวลาของการเดิ นให น อยลง จนในที่ สุ ด สามารถวิ่ งเหยาะได ติ ดต อกั นไม น อยกว า ๑๐ นาที โดย ไม ต องสลั บด วยการเดิ น และทำเช นนี้ อย างน อย ๓ วั น ต อสั ปดาห จึ งถื อได ว าเป นการวิ่ งเพื่ อสุ ขภาพ การอบอุ นร างกายก อนวิ่ งและการผ อนคลายร างกาย หลั งวิ่ ง ก อนและหลั งการวิ่ งทุ กครั้ ง ควรอบอุ นร างกายและ ผ อนคลายร างกายประมาณ ๔–๕ นาที โดยวิ่ งเหยาะๆ ด วยความเร็ วที่ น อยกว าที่ ใช ในการวิ่ งจริ ง พร อมกั บทำ กายบริ หารยื ดเหยี ยดกล ามเนื้ อส วนต างๆ ของร างกาย ด วย แต บางครั้ งร างกายอ อนแอ อาจอดนอน หรื อเจ็ บไข หรื อวิ่ งในขณะอากาศร อนจั ด และไม ได ทดแทนน้ ำและ เกลื อแร พอเพี ยง อาจเกิ ดอาการที่ ส อ “สั ญญาณเตื อน อั นตราย” ขึ้ นขณะวิ่ งได เช น อาการเวี ยนศี รษะ คลื่ นไส หรื อหน ามื ดเป นลม รู สึ กคล ายหายใจไม ทั นหรื อหายใจ ไม ออก ใจสั่ น แน น เจ็ บตื้ อบริ เวณหน าอก หรื อลมออก หู หู ตึ งกว าปกติ มี บางรายอาจควบคุ มการเคลื่ อนไหว ร างกายไม ได ซึ่ งถ าเกิ ดมี อาการอย างใดอย างหนึ่ งขึ้ น ให ทำตามลำดั บดั งนี้ ๑. ขณะวิ่ ง ให ชะลอความเร็ วลง หากอาการ หายไปอย างรวดเร็ ว อาจวิ่ งต อไปอี กระยะหนึ่ งด วย ความเร็ วที่ ชะลอไว แล วนั้ น ๒. แต หากชะลอความเร็ วแล ว ยั งมี อาการอยู อี ก ให เปลี่ ยนเป นเดิ น

๓. ถ าเดิ นแล วยั งมี อาการอยู ต องหยุ ดนั่ งหรื อ นอนราบจนว าอาการจะหายไป ๔. ในวั นต อไป จำเป นต องลดความเร็ วและระยะ ทางลง ๕. ถ าอาการที่ เป นสั ญญาณเตื อนอั นตรายไม หาย ไปแม พั กแล วเป นเวลานาน ต องรี บปรึ กษาแพทย สำหรั บประโยชน ของการวิ่ ง มี มากมายตั้ งแต ... ๑. ช วยให ระบบไหลเวี ยนเลื อด ปอด หั วใจ ทำงานดี ขึ้ น ลดระดั บไขมั นในเลื อด เพื่ อป องกั นโรค หั วใจ ความดั นโลหิ ตสู ง และช วยให ไม เป นลมหน ามื ด ง าย ๒. ทำให กระดู กแข็ งแรงขึ้ น ลดภาวะกระดู กพรุ น ๓. ช วยปรั บภู มิ คุ มกั นของร างกายให ทำงานดี ขึ้ น ๔. ช วยควบคุ มน้ ำหนั กของร างกาย ๕. กระตุ นให สมองเกิ ดการหลั่ งสารเอ็ นโดรฟ นขึ้ น ซึ่ งเป นสารเคมี ธรรมชาติ ที่ มี ฤทธิ์ บรรเทาอาการปวด และทำให รู สึ กสุ ขสบาย และสุ ดท าย จะดี มากขึ้ น ถ าการวิ่ งใช เสื้ อและ กางเกงที่ ทำจากผ าฝ าย ไม รั ดแน นหรื อหลวมจนเกิ นไป รวมทั้ งรองเท าหุ มส นที่ พอดี กั บขนาดและรู ปเท า ตลอดจนพื้ นรองเท าควรหนาและนุ ม หากออกกำลั งกาย ได อย างที่ ว า สุ ขภาพดี ก็ อยู แค เอื้ อม

เรี ยบเรี ยงจาก วิ่ ง...เพื่ อสุ ขภาพ โดย ศ.นพ.ยุ ทธนา อุ ดมพร หน วยสร างเสริ มสุ ขภาพกี ฬาและนั นทนาการ

Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ราชพยาบาล http://www.si.mahidol.ac.th/anesth/dept_article_detail. asp?a_id=731

Powered by