แต คำตอบไม ได มาง ายๆ “เราทำการทดลองโดยใช แผ นเยื่ อที่ ทำจากคาร บอน แทนที่ จะเป นแผ นเยื่ อที่ ทำจากซี โอไลท ซึ่ งเป นเทคโนโลยี ล้ ำสมั ยในป จจุ บั น” ไลฟ ลี กล าว “งานของเราแสดงให เห็ นว าแผ นเยื่ อคาร บอนให ผลลั พธ ที่ ดี ในการกรอง มากกว าถึ ง ๑๐ เท า และสามารถทำได ที่ อุ ณหภู มิ ห อง ด วยวิ ธี นี้ จึ งลดความต องการใช พลั งงานลง” การทดลองประสบความสำเร็ จ แต ยั งมี สิ่ งที่ ท าทาย อยู “ขั้ นตอนต อไปคื อต องทำงานของเราในห องแล็ บ ต อไป เพื่ อทำความเข าใจเรื่ องความคงตั วและความ ทนทานของแผ นเยื่ อ” แม็ คคู ลกล าว “ถ าผลการทดลอง ยั งเป นที่ น าพอใจ เราก็ จะทำการทดสอบโดยใช ชุ ดสาธิ ต ที่ มี ขนาดใหญ ขึ้ น” “ถ าการทดลองคื บหน าในระดั บเดี ยวกั บแผ นเยื่ อ ที่ ใช ในการกรองน้ ำ” ไลฟ ลี เสริ ม “เราก็ อาจจะพบ เทคโนโลยี ใหม ที่ จะสามารถทดแทนเทคโนโลยี แบบเดิ ม ในโรงงานป โตรเคมี ได ในอี กสองสามทศวรรษข างหน า” ความร วมมื อที่ กำลั งรุ ดหน า หั วใจสำคั ญของงานวิ จั ยที่ กำลั งดำเนิ นอยู นี้ คื อ ความร วมมื อระหว าง จอร เจี ย เทค กั บเอ็ กซอนโมบิ ล ไลฟ ลี และแม็ คคู ลเป นตั วแทนที่ สะท อนถึ งความร วมมื อ ดั งกล าว ทั้ งสองพบกั นเมื่ อไลฟ ลี เป นนั กศึ กษาระดั บ บั ณฑิ ตศึ กษาเมื่ อป ค.ศ. ๒๐๐๖ เขาทำงานวิ จั ยเกี่ ยวกั บ
แผ นเยื่ อแมทริ กซ ผสม (mixed-matrix membrane) ซึ่ งได รั บทุ นสนั บสนุ นจากเอ็ กซอนโมบิ ล นี่ คื อจุ ดเริ่ มต น ของความสั มพั นธ กั บมหาวิ ทยาลั ยที่ ขยายตั วออกไป อย างกว างขวาง ก อให เกิ ดสิ ทธิ บั ตรมากมาย และงาน วิ จั ยจำนวนมากที่ มี การตี พิ มพ เผยแพร ตลอด ๑๐ ป ที่ ผ านมา การศึ กษาเบื้ องต นเกี่ ยวกั บแผ นเยื่ อแมทริ กซ ผสม ค อยๆ พั ฒนาสู งานวิ จั ยเรื่ องการดั กจั บคาร บอน และนำไปสู งานด านการแยกและการกรอง เมื่ อไลฟ ลี กลั บมาที่ จอร เจี ย เทค ในตำแหน งศาสตราจารย ใน ป ค.ศ.๒๐๑๓ แม็ คคู ลมองเห็ นโอกาสที่ จะทำงาน ร วมกั นอี กครั้ ง เพื่ อค นหาเทคโนโลยี ในการแยกที่ ใช พลั งงานอย างมี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น ชั่ วเวลาไม ถึ ง สองป ทั้ งคู ทำให เกิ ดความก าวหน าครั้ งใหญ และความ สั มพั นธ ที่ ไปไกลยิ่ งกว าเรื่ องของคนสองคน “ความร วมมื อกั บมหาวิ ทยาลั ยชั้ นนำต างๆ อย าง จอร เจี ย เทค ช วยให เอ็ กซอนโมบิ ลเข าใจอย างลึ กซึ้ ง ในงานวิ จั ยทางวิ ชาการที่ สามารถนำไปปรั บใช ใน อุ ตสาหกรรมได ” แม็ คคู ลกล าว “และจอร เจี ย เทคก็ ได รั บประโยชน จากความเป น ผู นำในอุ ตสาหกรรมและประสบการณ ของเอ็ กซอนโมบิ ล” ไลฟ ลี เสริ ม “แนวคิ ดก็ คื อใช ประโยชน จากงานวิ จั ยของเรา เพื่ อหาทางออกต างๆ เกี่ ยวกั บพลั งงาน”
เมื่ อมี การบี บอั ดโมเลกุ ลโครงสร าง พาราไซลี นจะผ าน เยื่ อเมมเบรนคาร บอนสั งเคราะห เข าไปได ที่ อุ ณหภู มิ ห อง
เยื่ อเมมเบรนคาร บอนสั งเคราะห
ส วนผสมไฮโดรคาร บอน
โมเลกุ ลโครงสร างพาราไซลี น
Powered by FlippingBook