Quarter 3/2016

กั บภารกิ จ

ไขความลั บดาวพฤหั สบดี

»¹Ñ ´´Ò àÅÔ ÈÅé ÓÍÓä¾

เมื่ อวั นที่ ๔ กรกฎาคม ที่ ผ านมา ยานอวกาศจู โน (Juno ย อมาจาก Jupiter Near-polar Orbiter) ของ องค การนาซ า (ชื่ อเต็ มว า องค การบริ หารการบิ นและ อวกาศแห งชาติ - National Aeronautics and Space Administration - NASA) ประสบความสำเร็ จในการ เจาะเข าสู วงโคจร (aerobrake) ของดาวพฤหั สบดี นั บเป น ‘วั นประวั ติ ศาสตร ’ ที่ สำคั ญอี กวั นหนึ่ งของ ตำนานพิ ชิ ตอวกาศของชาวโลก และเป นข าวใหญ เผยแพร ไปทั่ วโลก องค การนาซ าถ ายทอดสดเหตุ การณ นี้ ทางเว็ บไซต ตั้ งแต เวลาระหว าง ๒๒.๓๐ น. ของวั นจั นทร ที่ ๔ กรกฎาคม ตามเวลาในสหรั ฐฯ จนถึ งเวลา ๐๐.๓๐ น. ของวั นที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ โดย ยานอวกาศจู โน เริ่ มจุ ดระเบิ ดเครื่ องยนต เพื่ อลดความเร็ วลงในจั งหวะที่ จะเข าสู วงโคจรของดาวพฤหั สบดี เมื่ อเวลา ๒๓.๑๘ น. และใช เวลาในกระบวนการนี้ ทั้ งหมดราว ๓๕ นาที ยานอวกาศจู โน ประสบความสำเร็ จในการเจาะเข า สู วงโคจรของดาวพฤหั สบดี สำเร็ จเรี ยบร อยเมื่ อเวลา ๒๓.๕๕ น. ยั งความปลาบปลื้ มยิ นดี ยิ่ งแก ที มงานที่ เฝ า จั บตามองการทำงานของ ยานอวกาศจู โน อยู ณ ศู นย บั ญชาการที่ Jet Propulsion Laboratory (JPL) ในเมื อง Pasadena มลรั ฐแคลิ ฟอร เนี ย

ที มงาน ยิ นดี กั บ ความสำเร็ จ

จู โน ใช เวลาเดิ นทางจากโลกถึ งดาวพฤหั สบดี เป นเวลาประมาณ ๕ ป โดยได ทะยานขึ้ นจากผิ วโลก บนปลายจรวด Atlas 5 จากฐานปล อยจรวดกองทั พ อากาศสหรั ฐฯ ที่ Cape Canaveral มลรั ฐฟลอริ ดา เมื่ อวั นที่ ๕ สิ งหาคม ๒๕๕๔ และเดิ นทางรวมระยะทาง ประมาณ ๒,๘๐๐ ล านกิ โลเมตร สู ดาวพฤหั สบดี โดย ความเร็ วของการเดิ นทางของจู โน มี ความผั นแปร ตามวงโคจรในแต ละช วง ซึ่ งเป นผลลั พธ ของกำลั งของ ยานจู โน บวกกั บอิ ทธิ พลจากแรงโน มถ วงและแรงดี ด ของโลก และของดาวพฤหั สบดี คำนวณและนำวิ ถี โดยผู เชี่ ยวชาญด าน navigator โดยเฉพาะ

Powered by