Quarter 4/2013

ลั กษณะของธรรมาสน หลั งนี้ เป นแท นทรงสี่ เหลี่ ยมจั ตุ รั ส ด านล างทำเป นฐานบั ลลั งก มี ลวดลายสลั กไม ประดั บอย างงดงาม โดยเฉพาะลายกระจั งขนาดใหญ นอกจากนี้ ยั งมี ครุ ฑแบกประดั บ ตามมุ มและบริ เวณตรงกลางของฐาน ส วนกลางถั ดขึ้ นไปทำเป น ที่ นั่ งของพระสงฆ มี บั นไดทางขึ้ นทางด านหน า ด านบนสุ ดเป น ยอดทรงปราสาทย อมุ มสู งเพรี ยวขึ้ นไป ธรรมาสน หลั งนี้ แต เดิ ม ชำรุ ดมาก ทางวั ดจึ งได จ างช างชาวจี นมาซ อมครั้ งหนึ่ ง เมื่ อราวป พ.ศ. ๒๔๘๐ ทำให มี ฝ มื อช างรุ นใหม เข าไปผสมอยู ไม น อย สำหรั บ ลวดลายกระจั งและตั วครุ ฑของเดิ มบางชิ้ นนั้ น ได มี การถอดออกมา และเก็ บรั กษาเอาไว ที่ พิ พิ ธภั ณฑ ของวั ด เนื่ องจากเป นศิ ลปวั ตถุ ที่ มี คุ ณค าและเสี่ ยงต อการสู ญหายได ง าย ธรรมาสน เป นเสนาสนะประจำวั ดอย างหนึ่ ง สร างขึ้ นเพื่ อ ให พระภิ กษุ สงฆ ใช สำหรั บการนั่ งเทศนาแสดงธรรมแก ฆราวาส ในงานเทศกาลต างๆ ซึ่ งวั ตถุ ประสงค ในการทำเป นแท นสู งดั งกล าว ก็ เพื่ อเป นการแสดงถึ งศั กดิ์ ที่ สู งกว าปุ ถุ ชนธรรมดา และยั งแสดงถึ ง ตำแหน งที่ เป นประธานในการแสดงธรรมเทศนานั่ นเอง ท ายบท นอกจากโบราณวั ตถุ สถานดั งที่ กล าวมาแล วข างต น ภายใน วั ดพระรู ปยั งมี งานศิ ลปกรรมล้ ำค าอี กเป นจำนวนมาก อาทิ พระพุ ทธรู ปประธานภายในอุ โบสถ ซึ่ งเป นของอุ โบสถหลั งเดิ ม ก อนที่ จะมี การรื้ อและสร างอุ โบสถใหม เจดี ย เก าด านหลั งอุ โบสถ วิ หารมอญ หอระฆั ง ตลอดจนยั งมี พิ พิ ธภั ณฑ ของวั ดที่ ใช บริ เวณ ด านบนของหอสวดมนต เป นที่ จั ดแสดงโบราณวั ตถุ ต างๆ ที่ พบ ภายในเขตของวั ดพระรู ป สิ่ งต างๆ เหล านี้ ล วนสื่ อแสดงให เห็ นถึ ง ความสำคั ญของวั ดพระรู ปเมื่ อครั้ งอดี ตกาล ซึ่ งช างในครั้ งนั้ นได รั งสรรค งานพุ ทธศิ ลป เหล านี้ เอาไว เพื่ อสื บทอดให เป นมรดกทาง ศิ ลปวั ฒนธรรมสู เหล าชนรุ นหลั งได รั บทราบถึ งความรุ งโรจน ของ พระอารามแห งนี้ ได เป นอย างดี

ส วนล างของธรรมาสน

อ างอิ ง ๑. นั นทนา ชุ ติ วงศ , รอยพระพุ ทธบาทในศิ ลปะเอเชี ยใต และเอเชี ย อาคเนย , กรุ งเทพ : สำนั กพิ มพ เมื องโบราณ, ๒๕๓๓ ๒. สั นติ เล็ กสุ ขุ ม, “เจดี ย วั ดพระรู ป อ.เมื อง จ.สุ พรรณบุ รี หลั กฐาน ใหม ที่ ค นพบ” เมื องโบราณ ป ที่ ๑๗ ฉบั บที่ ๓ (กรกฎาคม- กั นยายน ๒๕๓๔), หน า ๑๐๒-๑๐๘. ๓. สั นติ เล็ กสุ ขุ ม, งานช าง คำช างโบราณ, กรุ งเทพ : รุ งศิ ลป การพิ มพ (๑๙๗๗) จำกั ด, ๒๕๕๓ ๔ . รุ งโรจน ภิ รมย อนุ กู ล, “ความเป นมาของวั ดพระรู ป จากคำว า “พระรู ป” ศิ ลปวั ฒนธรรม ป ที่ ๓๑ ฉบั บที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๓, หน า๕๐-๕๓ ๕. น. ณ ปากน้ ำ, เที่ ยวเมื องศิ ลปะอู ทอง, กรุ งเทพ : โรงพิ มพ เฟ องอั กษร, ๒๕๑๖ ๖. ประทุ ม ชุ มเพ็ งพั นธ , ประวั ติ วั ดพระรู ป (รวมพิ มพ ในหนั งสื อ บนศาลาการเปรี ยญของวั ดพระรู ป มี ธรรมาสน หลั งหนึ่ งตั้ งอยู ธรรมาสน หลั งนี้ ถื อกั นว าเป นงานพุ ทธศิ ลป ที่ งดงามอี กชิ้ นหนึ่ งของ วั ดพระรู ป แต มิ ได เป นของที่ อยู มาแต เดิ ม จากคำบอกเล าของ พระเทพวุ ฒาจารย (เปลื้ อง) วั ดสุ วรรณภู มิ อดี ตเจ าคณะจั งหวั ด สุ พรรณบุ รี เล าว าได นำมาจากวั ดแห งหนึ่ งทางฝ งธนบุ รี (บางท าน ว ามาจากวั ดบางยี่ เรื อ) ธรรมาสน ไม สลั ก : อาสนสงฆ ทรงปราสาทสำหรั บแสดงธรรม เทศนา

อรุ ณศั กดิ์ กิ่ งมณี จบการศึ กษาปริ ญญาตรี และโท จากคณะโบราณคดี มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร

งานออกเมรุ พระราชทานเพลิ งศพ พระครู สุ นทรสุ วรรณกิ จ (หลวงพ อดี ) ๑๖ มี นาคม ๒๕๕๑, พิ มพ ที่ P&P PRINTING PREPRESS, ๒๕๕๑, หน า ๖๐-๙๑

สนใจเป นพิ เศษเกี่ ยวกั บเรื่ องเทพฮิ นดู รวมถึ งประติ มานวิ ทยาของพุ ทธ และฮิ นดู ป จจุ บั นรั บราชการตำแหน งนั กโบราณคดี ชำนาญการพิ เศษ สำนั กศิ ลปากรที่ ๒ สุ พรรณบุ รี

Powered by