Quarter 2/2013

“ล าสุ ด เราเพิ่ งมี นั กเรี ยนอายุ เจ็ ดสิ บกว าจบจากเราไป แล วไป ต อจนได ปริ ญญาตรี ” ผู อำนวยการวิ ทยาลั ยบอกด วยรอยยิ้ ม การออกแบบหลั กสู ตรการเรี ยนรู ของวิ ทยาลั ยที่ ตอบสนองต อ ผู เรี ยนในชุ มชนรวมทั้ งสามารถบู รณาการให เป นส วนหนึ่ งของการ เตรี ยมพร อมเพื่ อเข าสู ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยนที่ ทำอยู ในขณะนี้ คื อการจั ดทำหลั กสู ตรระยะสั้ นวิ ชาชี พต างๆ เช น ภาษาอั งกฤษ เพื่ อการสื่ อสาร การทำขนมไทยแห ง การค าชายแดน การเพาะเห็ ด การทำของใช ในครั วเรื อน การนวดแผนไทยเพื่ อสุ ขภาพ เป นต น ซึ่ งหลั กสู ตรเหล านี้ เกิ ดขึ้ นจากความต องการของคนในชุ มชนอย าง แท จริ ง ในการเรี ยนการสอนก็ ใช ครู ภู มิ ป ญญา ปราชญ ท องถิ่ น หรื อ กระทั่ งผู ที่ มี อาชี พ มี ความเชี่ ยวชาญในด านเหล านั้ นมาเป นผู สอน และขณะเดี ยวกั น ก็ สามารถยกระดั บของผู สอนให มี ความรู ความ สามารถเพิ่ มขึ้ นด วยการมาเป นผู เรี ยนไปด วย บุ ษบา ยิ นดี สุ ข อาจารย สอนพิ เศษสาขาการแพทย แผนไทย ประยุ กต มหาวิ ทยาลั ยมหาสารคาม คื อตั วอย างดั งกล าว เธอเป นทั้ งครู ผู สอนในหลั กสู ตรอนุ ปริ ญญานวดแผนไทย และ นั กศึ กษาในหลั กสู ตรแพทย แผนพื้ นบ านในวิ ทยาลั ยชุ มชนแห งนี้ ด วยเช นกั น “ในช วงที่ เราเป นครู สอน เราจะสอนเสาร อาทิ ตย ส วนถ าเป น ผู เรี ยน เราจะมาเรี ยนตอนเย็ นหรื อเรี ยนตอนกลางวั นบ าง ลั กษณะ การเรี ยนรู ของเราจึ งเป นการเรี ยนไปด วยและสอนไปด วยในตั ว” บุ ษบาให ความเห็ นเพิ่ มเติ มว า วิ ทยาลั ยแห งนี้ ถื อเป นสถานที่ เป ดกว าง ทางการศึ กษาให คนในชุ มชนได ยกระดั บความรู ของตนเองอย าง แท จริ ง โดยดู จากประสบการณ ของเธอที่ มี ลู กศิ ษย มาเรี ยนนวด แผนไทยว าการได สอนเหล านั กเรี ยนที่ มี อาชี พเป นลู กจ างให บริ การ ในร านนวด พอมาได ความรู เพิ่ มเติ มจากที่ แห งนี้ ก็ ทำให พวกเขามี โอกาสพั ฒนาตั วเองให กลายเป นเจ าของร านนวดได ถื อเป นความ ภู มิ ใจของทั้ งตั วผู สอนและของวิ ทยาลั ยเองที่ ได ทำหน าที่ นี้ ด วยเห็ นถึ งวิ สั ยทั ศน พั นธกิ จในการผสานนโยบายการเป ด ตลาดสู ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยนของวิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว เอสโซ จึ งได ร วมสนั บสนุ นให สถาบั นแห งนี้ ทำหน าที่ เป นสถาบั นทาง วิ ชาการเพื่ อพั ฒนาและยกระดั บความเป นอยู ของชุ มชนอย างแท จริ ง นอกเหนื อจากการทำหน าที่ เผยแพร วั ฒนธรรมความเป นไทยไปสู เพื่ อนบ านให ได เข าใจเมื องไทยมากขึ้ น การสนั บสนุ นของเอสโซ จึ งเหมื อนสะพานเชื่ อมโอกาสใน อนาคตของผู คนในชุ มชนจั งหวั ดสระแก วให มี ความมั่ นคงทางอาชี พ ได สร างเสริ มศั กยภาพของตนเอง และนำความรู ที่ ได กลั บมารั บใช ชุ มชนของตนเองอี กทอดหนึ่ ง

และสั งคม ทำให วิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว เป นตั วแทนของสถาบั น การศึ กษาที่ ไร ขี ดจำกั ดทั้ งผู เรี ยนและผู สอน “เราต องมี ความคล องตั วในการจั ดการศึ กษาที่ เอื้ อกั บชุ มชน ให มากที่ สุ ด แม จะถู กกำหนดจากกรอบระเบี ยบของทางหน วยงาน ต นสั งกั ดที่ เป นภาครั ฐ แต วิ ทยาลั ยก็ พยายามหาแนวทางที่ ทำให ทุ กฝ ายได ประโยชน มากที่ สุ ด” ศิ ระพจต จริ ยาวุ ฒิ กุ ล ผู อำนวยการ วิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว ให ภาพที่ ชั ดเจนของหลั กการและปรั ชญา ในการจั ดการเรี ยนรู ของวิ ทยาลั ยแห งนี้ ซึ่ งถื อว ามี จุ ดเด นในการ บริ หารงานคื อ การสร างการมี ส วนร วมจากหน วยงานทุ กภาคส วน ของชุ มชนผ านคณะกรรมการสภาวิ ทยาลั ยที่ มาจากการสรรหา ผู ทรงคุ ณวุ ฒิ ผู มี ประสบการณ ครู ภู มิ ป ญญา ปราชญ ท องถิ่ น นั กธุ รกิ จท องถิ่ น และผู มี ความรู ความเชี่ ยวชาญ เพื่ อให มาร วมกั น ไม ใช เพี ยงมี หน าที่ ให คำปรึ กษาและควบคุ มการทำงานของวิ ทยาลั ย แต ยั งมี ส วนร วมในการกำหนดนโยบายจั ดหลั กสู ตรสถานศึ กษา อี กด วย เมื่ อคณะกรรมการสภาหารื อกั นว าอยากให วิ ทยาลั ยจั ด หลั กสู ตรที่ สอดคล องกั บความต องการของชุ มชนในพื้ นที่ อย างแท จริ ง ผู อำนวยการวิ ทยาลั ยในฐานะหั วขบวนขององค กรจึ งต องมี วิ สั ยทั ศน ที่ ชั ดเจน เข าใจถึ งความต องการของชุ มชนและออกแบบ แนวทางการจั ดการให ชุ มชนเข าถึ งความต องการได อย างแท จริ ง “เนื่ องจากการจั ดการเรี ยนรู ของวิ ทยาลั ยแห งนี้ ต องตอบโจทย ชุ มชนได ทุ กระดั บ ตั้ งแต ระดั บจั งหวั ดลงมาจนถึ งหมู บ าน ทำให เรา ต องทำงานร วมกั นอย างใกล ชิ ดทุ กระดั บไปด วย ตั วผมเองโชคดี ที่ เคยมี ประสบการณ ในการทำงานกั บหลายระดั บทั้ งในภาคประชา- สั งคมและหน วยงานธุ รกิ จ ทำให ได เรี ยนรู การบริ หารงานแบบแนว ราบมากกว าแนวดิ่ ง ขณะเดี ยวกั น เราต องจั ดการศึ กษาสองแบบ เป นหลั กคื อ ระดั บอนุ ปริ ญญา และระยะสั้ น แต มั นก็ ยั งไม เพี ยงพอ เราจึ งต องออกแบบหลั กสู ตรที่ เรี ยกว า โปรเจ็ คเบส (Project-Based Learning) คื อการจั ดการเรี ยนรู โดยคำนึ งผู เรี ยนเป นสำคั ญ ทำ อย างไรให ผู เรี ยนอยู ดี มี สุ ข เราต องเอาสถานที่ ของผู เรี ยนเป นตั วตั้ ง และให ความรู ทุ กด านทั้ งเป นการศึ กษาต อ การศึ กษาอาชี พ และ การศึ กษาที่ ตอบสนองความต องการของผู เรี ยนเป นหลั ก” ในการออกแบบหลั กสู ตรที่ ตอบสนองต อความต องการของ ผู ประกอบการและผู เรี ยนนั้ น ทางวิ ทยาลั ยวางแผนว าจะเชิ ญ ผู ประกอบการทั้ งหมดที่ ทำธุ รกิ จการโรงแรมมาพู ดคุ ยเพื่ อให ทราบ ถึ งความต องการว าหากอยากได ผู ช วยทำงานในโรงแรม พวกเขา มองหาคนแบบไหน มี คุ ณสมบั ติ อย างไร อี กทั้ งยั งต องฟ งเสี ยง ผู เรี ยนด วยเช นกั นว าจะเรี ยนด วยวิ ธี การอย างไร ในช วงเวลาไหน ระยะเวลาเรี ยนควรเป นเท าไหร กระบวนการนี้ จึ งถื อเป นการ ออกแบบการเรี ยนรู ที่ สร างการมี ส วนร วมจากผู มี ส วนได ส วนเสี ย อย างแท จริ ง โดยวิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก วเป ดโอกาสให ผู เรี ยนอย าง แท จริ ง ก็ คื อทั้ งอายุ และเพศของผู เรี ยนไม มี ข อจำกั ดใดๆ ทั้ งสิ้ น

Powered by