ผู ช วยศาสตราจารย สุ วรรณา เกรี ยงไกรเพ็ ชร
คุ ณพรนิ ต กล าวสรุ ปว า ภาพยนตร สารคดี ชุ ด ‘มรดกของไทย’ คื อ หลั กฐานทางวั ฒนธรรมอั นเก าแก ของไทยในอดี ต ที่ ไม จำเป นต องอาศั ยการพู ด แต สามารถนำมาให ดู เองเลยที เดี ยว ส วนผู ช วยศาสตราจารย สุ วรรณา ได ทิ้ งท ายไว ว า ภาพยนตร ชุ ดนี้ เป นหลั กฐาน ทางมานุ ษยวิ ทยา ที่ แสดงด วยภาพและข อความตาม บทบรรยายในรู ปแบบของภาพยนตร ซึ่ งช วยบั นทึ ก ทุ กสิ่ งทุ กอย างที่ อยู ‘ไกลเกิ นตั ว’ ไว ได อย างเป น ธรรมชาติ ในตอนท ายของ ‘ภาพยนตร สนทนา’ คุ ณโดม สุ ขวงศ ผู อำนวยการหอภาพยนตร ฯ ได เล าถึ งที่ มาของ การรั บภาพยนตร สารคดี ชุ ด ‘มรดกของไทย’ เข ามา เป นสมบั ติ ของชาติ ว า ด วยความสนใจในภาพยนตร ตั้ งแต สมั ยยั งอยู ในวั ยหนุ ม โดยเฉพาะอย างยิ่ ง ภาพยนตร สารคดี และสารคดี ชุ ด ‘มรดกไทย’ ก็ เป น รายการหนึ่ งที่ ชื่ นชอบมาตั้ งแต แรกออกอากาศ ดั งนั้ น เมื่ อสามารถจั ดตั้ งหอภาพยนตร ฯ ขึ้ นมาได จึ งเกิ ด ความคิ ดที่ จะนำภาพยนตร เหล านั้ นมาเก็ บรั กษาและ เผยแพร ออกไปในวงกว าง จึ งได ติ ดต อไปที่ เอสโซ และพบว า ภาพยนตร ชุ ดนี้ มี การเก็ บรั กษาไว เป นอย างดี ในที่ สุ ด บริ ษั ท เอสโซ ฯ ได มอบฟ ล มภาพยนตร ชุ ด ดั งกล าวทั้ งหมดให แก หอภาพยนตร ฯ คุ ณโดม เล าถึ งความตั้ งใจในเวลานั้ นว า “อะไรที่ ทำได ดี แล ว ไม ควรจะสู ญหายไป คนรุ นหลั งไม เคยเห็ น ก็ จะได เห็ น นำไปสู การศึ กษา ค นคว า เป นการตี ฆ อง ร องป าวให คนรู ว า เรามี หนั งเป นชุ ดกว า ๒๐๐ เรื่ อง ที่ ต องการเผยแพร ให คนรุ นหลั งได ชม เพื่ อช วยในการ เรี ยนรู และเพิ่ มพู นประสบการณ ให กั บคนในสั งคมไทย” คราวที่ วารสาร “ความรู คื อประที ป” มี อายุ ครบ ๕๐ ป เอสโซ ได มอบเงิ นเพื่ อสนั บสนุ นกิ จกรรมของ หอภาพยนตร จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท เพื่ อสนั บสนุ น การรั กษาฟ ล มภาพยนตร เก า แผ นฟ ล ม วี ดิ ทั ศน ความรู และเหตุ การณ สำคั ญๆ ของชาติ ในอดี ต รวมถึ งกิ จกรรม ในโครงการต างๆ ของหอภาพยนตร แห งชาติ และใน โอกาสที่ เอสโซ ครบรอบ ๑๒๐ ป ในป นี้ เอสโซ ได สนั บสนุ นเงิ น ๑๒๐,๐๐๐ บาท เพื่ อสนั บสนุ นกิ จกรรม ของหอภาพยนตร ฯ โดยหอภาพยนตร ฯ ได มอบหมาย ให ผู สร างภาพยนตร รุ นใหม คื อ คุ ณโต ง อภิ ชน รั ตนาภายน ดำเนิ นการสร างภาพยนตร สารคดี เพื่ อ
ย อนรอยภาพยนตร สารคดี เรื่ องแรกของชุ ด ‘มรดกไทย’ คื อ ‘หลุ มศพที่ ลื อไซต ’ เท าที่ ยั งมี ร องรอยหลงเหลื ออยู มี การสั มภาษณ ผู เกี่ ยวข อง ทั้ งที มงานสร างภาพยนตร ผู ปรากฏตั วหรื อให สั มภาษณ ในภาพยนตร และเจ าหน าที่ ของเอสโซ ฯ ที่ ปฏิ บั ติ งานอยู ในยุ คนั้ น เพื่ อให เห็ นถึ ง ประโยชน ของการสร างภาพยนตร สารคดี เรื่ องนี้ ซึ่ งถื อ ได ว าเป น ‘มรดก’ ชิ้ นหนึ่ ง ที่ ไม ได เป นเพี ยงแค มรดกของ ชาติ เท านั้ น แต ยั งควรถื อว าเป นมรดกของมนุ ษยชาติ อี กด วย คุ ณโดม สรุ ปส งท ายว ารายการ ‘ความรู คื อประที ป’ ที่ ผู ชมรู จั กกั นดี ในยุ คหลั ง ก็ คื อรายการโทรทั ศน ที่ เอสโซ ฯ ให การสนั บสนุ นการผลิ ต สื บเนื่ องจากรายการภาพยนตร สารคดี ชุ ด ‘มรดกของไทย’ นี้ เอง ป จจุ บั นภาพยนตร สารคดี ชุ ด ‘มรดกของไทย’ เรื่ อง หลุ มศพที่ ลื อไซต ก็ ได รั บการขึ้ นทะเบี ยนให เป นหนึ่ งในมรดกภาพยนตร ของชาติ ประจำป ๒๕๕๖ หลั งจาก ‘ภาพยนตร สนทนา’ จบลงด วยความเห็ น ของผู สร างภาพยนตร รุ นใหม ผู แกะรอยภาพยนตร สารคดี ชุ ด ‘มรดกของไทย’ แล ว ความกระจ างชั ดเจนก็ เกิ ดขึ้ น ในเรื่ องของความสั มพั นธ ระหว าง ๓๐ ป หอภาพยนตร , ๕๐ ป มรดกของไทย และ ๑๒๐ ป เอสโซ ในประเทศไทย ว า แท จริ งคื อการร วมกั นสานสายใยของการอนุ รั กษ วั ฒนธรรมไทยให ยั่ งยื น สมดั งเจตน จำนงอั นงดงาม ของทั้ งผู อนุ รั กษ และเผยแพร ผู สร างและผู ให การ สนั บสนุ นการสร างภาพยนตร สารคดี ที่ เป นทั้ งมรดก ของชาติ เป นหลั กฐานทางวั ฒนธรรมและมานุ ษยวิ ทยา อั นล้ ำค า ให สื บทอดไปสู อนุ ชนรุ นหลั งได อย างไม สิ้ นสุ ด
Powered by FlippingBook