อายุ ราว พ.ศ. ๖๐๐ ในตำบลพงตึ ก อำเภอท ามะกา จั งหวั ด กาญจนบุ รี (ป จจุ บั น จั ดแสดงอยู ที่ พิ พิ ธภั ณฑสถานแห งชาติ พระนคร) สั นนิ ษฐานว าเป นตะเกี ยงที่ หล อขึ้ นจากประเทศอี ยิ ปต สมั ยที่ ถู กปกครองโดยโรมั น และนำเข ามาโดยพ อค าอิ นเดี ย เนื่ องจากตำบลพงตึ ก เป นเส นทางการค าขายที่ ชาวอิ นเดี ยใช ตะเกี ยงที่ ใช กั นแต โบราณของไทยนั้ น เราเรี ยกว า “ประที ป” โดยเริ่ มแรกเป นตะเกี ยงที่ ทำจากเครื่ องป นดิ นเผา มี รู ปทรงง ายๆ คล ายถ วยสำหรั บใส น้ ำมั น และมี พวยสำหรั บสอดไส ซึ่ งทำด วย ด ายดิ บหลายเส นฟ นเข าไว ด วยกั น ในหนั งสื อ วชิ รญาณวิ เศษ ซึ่ งมี การบั นทึ กเรื่ อง “ประที ปโคมไฟ” โดยหม อมเจ าประภากร ได กล าวถึ งการใช ตะเกี ยงว าคนไทยโบราณใช ตะเกี ยงน้ ำมั นมะพร าว น้ ำมั นปลา เป นส วนใหญ จนกระทั่ งเมื่ อชาวต างชาติ เข ามาและ นำเที ยนไขมาขาย จึ งทำให คนไทยรู จั กเที ยนไขและได กลายเป น ของใช ที่ นิ ยมกั นไปทั่ วทุ กบ านเรื อน และเมื่ อสยามเป ดประตู บ านรั บชาวตะวั นตก สิ่ งประดิ ษฐ สมั ยใหม ก็ พากั นเดิ นพาเหรดเข ามาให ชาวสยามได ทำความรู จั ก เลื อกใช และแน นอน หนึ่ งในของใช ที่ จำเป นเหล านั้ นย อมมี “ตะเกี ยง” รวมอยู ด วย โดยการเข ามาของ “น้ ำมั นก าด” ทำให ชาวไทยได รู จั กกั บ “ตะเกี ยงเจ าพายุ ” ตะเกี ยงที่ ใช น้ ำมั น จุ ดไส ใน ครอบแก ว เมื่ อเผาไส แล ว สู บลมให ดั นน้ ำมั นเป นไอขึ้ นไปเลี้ ยง ทำให เกิ ดแสงสว างนวลจ า ธุ รกิ จการนำเข าน้ ำมั นก าดสู สยามประเทศนั้ นเริ่ มต นในสมั ย รั ชกาลที่ ๕ ซึ่ งหนึ่ งในบริ ษั ทต างชาติ ที่ นำเข าน้ ำมั นก าด คื อ บริ ษั ท แสตนดาร ดออยล แห งนิ วยอร ก เข ามาเป ดสาขาในประเทศ ไทย เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๓๗ โดยตั้ งอยู ที่ ตรอกกั ปตั นบุ ช น้ ำมั นก าด ที่ บริ ษั ทฯ นำเข ามาจำหน ายคื อ น้ ำมั นก าดตราไก และตรานกอิ นทรี และนั บจากวั นนั้ นมา บริ ษั ท แสตนดาร ดออยล แห งนิ วยอร ก ก็ อยู คู กั บชาวไทยมาตลอด โดยมี การปรั บเปลี่ ยนชื่ อบริ ษั ทไปตาม ธุ รกิ จที่ เติ บโตอย างมั่ นคง พร อมร วมส งเสริ มคุ ณภาพชี วิ ตชาวไทย ไปกั บการพั ฒนาประเทศ หลั งจาก โธมั ส เอดิ สั น ได จดทะเบี ยนสิ ทธิ บั ตรหลอดไฟฟ า นั บจากนั้ น โลกก็ เข าสู ยุ คแสงสว าง มนุ ษย กลั บกลายมาเป นสั ตว โลก ที่ กลั วความมื ดมิ ด และ “ตะเกี ยง” ก็ กลายเป นของเล นราคาแพง ซึ่ งรวมทั้ งกระป องน้ ำมั นก าด ตราไก ที่ ยั งพอมี ให ซื้ อหากั นเฉพาะ กลุ มผู นิ ยมของเก าเท านั้ น
จนเมื่ อโลกเข าสู ยุ คสมั ยใหม มี การขุ ดพบน้ ำมั นป โตรเลี ยม จากพื้ นดิ น ประดิ ษฐกรรมตะเกี ยงก็ รุ ดหน าขึ้ นเรื่ อยๆ มี การจด ทะเบี ยนตะเกี ยงมากมายหลายร อยแบบในช วงป พ.ศ. ๒๔๐๓ – ๒๔๒๓ (เที ยบเท าสมั ยรั ชกาลที่ ๔ และ ๕ ของไทย) และแบบหนึ่ ง ที่ รู จั กกั นดี ไปทั่ วโลก คื อ “ตะเกี ยงเจ าพายุ ” ซึ่ งไม เพี ยงนำไปใช ในบ านเรื อน แต ยั งใช เป นโคมไฟห อยตามถนน รวมถึ งประภาคาร เพื่ อส องแสงเตื อนภั ยถึ งหิ นโสโครกให เหล าเรื อที่ ล องในมหาสมุ ทร คนไทยกั บตะเกี ยง ช วงเวลาที่ อาร กองด คิ ดประดิ ษฐ ตะเกี ยงซึ่ งถื อเป นต นแบบ ตะเกี ยงสมั ยใหม ตรงกั บรั ชกาลที่ ๑ สมั ยกรุ งรั ตนโกสิ นทร แต คนไทยรู จั กตะเกี ยงมาแต โบราณเช นเดี ยวกั บคนชาติ อื่ นๆ หนึ่ งในหลั กฐานที่ ยื นยั นได คื อ การขุ ดพบตะเกี ยงโรมั นสั มฤทธิ์
ขอขอบคุ ณ
- พิ พิ ธภั ณฑ อยู สุ ขสุ วรรณ คุ ณณรงค อยู สุ ขสุ วรรณ - คุ ณกาญน ฏิ มา วงษ ดี
Powered by FlippingBook