Quarter 3/2013

อายุ ราว พ.ศ. ๖๐๐ ในตำบลพงตึ ก อำเภอท ามะกา จั งหวั ด กาญจนบุ รี (ป จจุ บั น จั ดแสดงอยู ที่ พิ พิ ธภั ณฑสถานแห งชาติ พระนคร) สั นนิ ษฐานว าเป นตะเกี ยงที่ หล อขึ้ นจากประเทศอี ยิ ปต สมั ยที่ ถู กปกครองโดยโรมั น และนำเข ามาโดยพ อค าอิ นเดี ย เนื่ องจากตำบลพงตึ ก เป นเส นทางการค าขายที่ ชาวอิ นเดี ยใช ตะเกี ยงที่ ใช กั นแต โบราณของไทยนั้ น เราเรี ยกว า “ประที ป” โดยเริ่ มแรกเป นตะเกี ยงที่ ทำจากเครื่ องป นดิ นเผา มี รู ปทรงง ายๆ คล ายถ วยสำหรั บใส น้ ำมั น และมี พวยสำหรั บสอดไส ซึ่ งทำด วย ด ายดิ บหลายเส นฟ นเข าไว ด วยกั น ในหนั งสื อ วชิ รญาณวิ เศษ ซึ่ งมี การบั นทึ กเรื่ อง “ประที ปโคมไฟ” โดยหม อมเจ าประภากร ได กล าวถึ งการใช ตะเกี ยงว าคนไทยโบราณใช ตะเกี ยงน้ ำมั นมะพร าว น้ ำมั นปลา เป นส วนใหญ จนกระทั่ งเมื่ อชาวต างชาติ เข ามาและ นำเที ยนไขมาขาย จึ งทำให คนไทยรู จั กเที ยนไขและได กลายเป น ของใช ที่ นิ ยมกั นไปทั่ วทุ กบ านเรื อน และเมื่ อสยามเป ดประตู บ านรั บชาวตะวั นตก สิ่ งประดิ ษฐ สมั ยใหม ก็ พากั นเดิ นพาเหรดเข ามาให ชาวสยามได ทำความรู จั ก เลื อกใช และแน นอน หนึ่ งในของใช ที่ จำเป นเหล านั้ นย อมมี “ตะเกี ยง” รวมอยู ด วย โดยการเข ามาของ “น้ ำมั นก าด” ทำให ชาวไทยได รู จั กกั บ “ตะเกี ยงเจ าพายุ ” ตะเกี ยงที่ ใช น้ ำมั น จุ ดไส ใน ครอบแก ว เมื่ อเผาไส แล ว สู บลมให ดั นน้ ำมั นเป นไอขึ้ นไปเลี้ ยง ทำให เกิ ดแสงสว างนวลจ า ธุ รกิ จการนำเข าน้ ำมั นก าดสู สยามประเทศนั้ นเริ่ มต นในสมั ย รั ชกาลที่ ๕ ซึ่ งหนึ่ งในบริ ษั ทต างชาติ ที่ นำเข าน้ ำมั นก าด คื อ บริ ษั ท แสตนดาร ดออยล แห งนิ วยอร ก เข ามาเป ดสาขาในประเทศ ไทย เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๓๗ โดยตั้ งอยู ที่ ตรอกกั ปตั นบุ ช น้ ำมั นก าด ที่ บริ ษั ทฯ นำเข ามาจำหน ายคื อ น้ ำมั นก าดตราไก และตรานกอิ นทรี และนั บจากวั นนั้ นมา บริ ษั ท แสตนดาร ดออยล แห งนิ วยอร ก ก็ อยู คู กั บชาวไทยมาตลอด โดยมี การปรั บเปลี่ ยนชื่ อบริ ษั ทไปตาม ธุ รกิ จที่ เติ บโตอย างมั่ นคง พร อมร วมส งเสริ มคุ ณภาพชี วิ ตชาวไทย ไปกั บการพั ฒนาประเทศ หลั งจาก โธมั ส เอดิ สั น ได จดทะเบี ยนสิ ทธิ บั ตรหลอดไฟฟ า นั บจากนั้ น โลกก็ เข าสู ยุ คแสงสว าง มนุ ษย กลั บกลายมาเป นสั ตว โลก ที่ กลั วความมื ดมิ ด และ “ตะเกี ยง” ก็ กลายเป นของเล นราคาแพง ซึ่ งรวมทั้ งกระป องน้ ำมั นก าด ตราไก ที่ ยั งพอมี ให ซื้ อหากั นเฉพาะ กลุ มผู นิ ยมของเก าเท านั้ น

จนเมื่ อโลกเข าสู ยุ คสมั ยใหม มี การขุ ดพบน้ ำมั นป โตรเลี ยม จากพื้ นดิ น ประดิ ษฐกรรมตะเกี ยงก็ รุ ดหน าขึ้ นเรื่ อยๆ มี การจด ทะเบี ยนตะเกี ยงมากมายหลายร อยแบบในช วงป พ.ศ. ๒๔๐๓ – ๒๔๒๓ (เที ยบเท าสมั ยรั ชกาลที่ ๔ และ ๕ ของไทย) และแบบหนึ่ ง ที่ รู จั กกั นดี ไปทั่ วโลก คื อ “ตะเกี ยงเจ าพายุ ” ซึ่ งไม เพี ยงนำไปใช ในบ านเรื อน แต ยั งใช เป นโคมไฟห อยตามถนน รวมถึ งประภาคาร เพื่ อส องแสงเตื อนภั ยถึ งหิ นโสโครกให เหล าเรื อที่ ล องในมหาสมุ ทร คนไทยกั บตะเกี ยง ช วงเวลาที่ อาร กองด คิ ดประดิ ษฐ ตะเกี ยงซึ่ งถื อเป นต นแบบ ตะเกี ยงสมั ยใหม ตรงกั บรั ชกาลที่ ๑ สมั ยกรุ งรั ตนโกสิ นทร แต คนไทยรู จั กตะเกี ยงมาแต โบราณเช นเดี ยวกั บคนชาติ อื่ นๆ หนึ่ งในหลั กฐานที่ ยื นยั นได คื อ การขุ ดพบตะเกี ยงโรมั นสั มฤทธิ์

ขอขอบคุ ณ

- พิ พิ ธภั ณฑ อยู สุ ขสุ วรรณ คุ ณณรงค อยู สุ ขสุ วรรณ - คุ ณกาญน ฏิ มา วงษ ดี

Powered by