Quarter 3/2013

๑. ชุ ดเครื่ องแต งกายโดย อองรี มาติ ส จากเรื่ อง “The Song of the Nightingale ป ค.ศ.๑๙๒๐ ๒. ชุ ดเครื่ องแต งกายโดย โคโค ชาเนล จากเรื่ อง “The Blue Train” ป ค.ศ.๑๙๒๔ ๓. ชุ ดเครื่ องแต งกาย “ม าน้ ำ” โดยนาทาเลี ย กอนชาโรฟะ จากเรื่ อง “Sadko” ป ค.ศ. ๑๙๑๖

ภาพเขี ยนสี น้ ำมั น “อมี ดี โอ โมดิ เกลี ยนี ” บนผื นผ าใบโดย เลออง บาคสต ป ค.ศ.๑๙๑๗

๓.

๒.

การแสดงที่ ปฏิ วั ติ วงการ นิ ทรรศการครั้ งนี้ นำนิ ทรรศการที่ พิ พิ ธภั ณฑ วิ คตอเรี ยและ อั ลเบิ ร ตที่ กรุ งลอนดอนเคยจั ดให ชมเมื่ อ ป ค.ศ.๒๐๑๐ มาปรั บ เน นจุ ดที่ ต างออกไปคื อบทบาทของศิ ลปะแบบป จเจกชน รวมทั้ ง ดนตรี และการเต นรำ โดยเน นการนำเสนอผลงานใหม ๆ จากทั่ วโลก “เราเปลี่ ยนวิ ธี เล าเรื่ อง นำเสนอเรื่ องราวตามลำดั บเวลา โดยมองการแสดงบั ลเล ต ผ านเลนส ของความเคลื่ อนไหวทางศิ ลปะ ครั้ งสำคั ญๆ ในศตวรรษที่ ๒๐” คุ ณซาราห เล า “คณะบั ลเล ต รุ สซ นำภาพการแสดงใหม มาสู เวที และกลายเป นอวตาร แห งความ ทั นสมั ยในต นศตวรรษที่ ๒๐” ในนิ ทรรศการมี การจั ดแสดงชุ ดเครื่ องแต งกายที่ ใช ในการ แสดงจริ งของบั ลเล ต เรื่ อง “The Rite of Spring” ประกอบดนตรี แนวล้ ำสมั ยของอี กอร สตราฟ นสกี และท าเต นแข็ งทื่ ออย างน า ตกใจของฟาสลาส นิ จิ นสกี้ ที่ เกื อบทำให เกิ ดจลาจลในหมู ผู ชม ณ สถานที่ จั ดแสดงในกรุ งปารี สเมื่ อร อยป ที่ แล ว “ชุ ดที่ ใช ในการแสดงก็ เป นการปฏิ วั ติ เช นกั นในแง ที่ มอง อย างไรก็ ไม เหมื อนชุ ดบั ลเล ต ” เคนเนลกล าว “บั ลเล ต น าจะเป น ความสง า ความงาม และความอ อนช อย แต ผู เต นกลั บกระทื บเท า บนพื้ น ท วงท าบิ ดเบี้ ยว จนผู ชมรู สึ กเหมื อนโดนดู ถู กและสั บสน มี เสี ยงดั งอื้ ออึ งจากทั้ งคนที่ สนั บสนุ นและคนที่ บ นว าจนนิ จิ นสกี้ ต องตะโกนออกมาเพื่ อให ผู เต นสามารถจั บจั งหวะดนตรี ได ” ส งเสริ มวั ฒนธรรม บั ลเล ต รุ สซ ทำให เกิ ดปรากฏการณ ทางวั ฒนธรรม ซึ่ งแสดง ถึ งความร วมมื อ นวั ตกรรม และความก าวหน า เป นความเหมาะสม อย างยิ่ งที่ ผู นำด านพลั งงานของโลกสองบริ ษั ทจะรวมพลั งกั นนำ นิ ทรรศการออกสู สายตาผู ชมสมั ยใหม

Powered by