Foreign trees in King Rama 2 Thais called trees brought into Siam “Mai Tes” meaning foreign trees. In addition, to show that the trees were brought in during the reign of King Rama 2, their names started with the word “Yee,” meaning two. Flora aficionado Piya Chalermklin introduced a series of flowers and trees brought during the reign of King Rama 2.
นั บเป นความชาญฉลาดของบรรพบุ รุ ษไทย ในสมั ยรั ชกาลที่ ๒ แห งกรุ งรั ตนโกสิ นทร ที่ ตั้ งชื่ อเรี ยก ต นไม ที่ นำมาจากต างประเทศสั้ นๆ ว า ไม เทศ และเพื่ อ แสดงว านำเข ามาปลู กในเมื องไทยในสมั ยนั้ น ก็ ใช ชื่ อนำ ว า “ยี่ ” ที่ แปลว า สอง มี ความหมายถึ งรั ชกาลที่ ๒ ได แก ต นไม ที่ มี ชื่ อว า ยี่ สุ น ยี่ โถ ยี่ เข ง ยี่ หร าและยี่ หุ บ ในช วงสมั ยรั ชกาลที่ ๒ เป นช วงที่ เริ่ มมี การค าขาย กั บต างประเทศมากขึ้ น ทั้ งกั บชาติ ทางตะวั นตกที่ เป น ฝรั่ งมาจากยุ โรป ได แก โปรตุ เกส ฮอลั นดา อั งกฤษ ฝรั่ งเศส และกั บชาติ ทางตะวั นออกคื อ จี นและญี่ ปุ น มี หลั กฐานว าในสมั ยนี้ ในป พ.ศ. ๒๓๖๓ มี การตั้ ง สถานกงสุ ลแห งประเทศโปรตุ เกสขึ้ นในกรุ งเทพฯ เป นชาติ แรกในสยามประเทศ และพบว าชาวต างชาติ ที่ ทำการค ากั บไทยก็ ได นำต นไม เข ามาด วย ทำให มี ต นไม ดั งกล าวเจริ ญเติ บโตอยู ในเมื องไทย แต ยั งมี ชื่ อเดิ มเป นภาษาต างประเทศ คนไทยเรี ยกชื่ อได ยาก จำเป นต องตั้ งชื่ อเรี ยกขึ้ นมาใหม เป นภาษาไทย จึ งเป น ที่ มาของชื่ อต นไม ที่ มี ชื่ อนำว ายี่ ..... เรามาทำความรู จั กกั บต นไม ยี่ .......ทั้ งหลาย ว ามี ความเป นมาอย างไร มี รู ปร างลั กษณะอย างไร แล วนำ มาใช ประโยชน อะไรกั นได บ าง ยี่ สุ น เป นชื่ อที่ ตั้ งขึ้ นมาสำหรั บใช เรี ยกกุ หลาบ มี กลิ่ นหอม ดอกเล็ ก เป น พรรณไม จากต างประเทศ ที่ เข า มาในสมั ยรั ชกาลที่ ๒ มี ชื่ อ พฤกษศาสตร ว า Rosa damascena
เป นพรรณไม ชนิ ด เดี ยวกั น แต เนื่ องจากกุ หลาบมอญ
เป นพรรณไม เศรษฐกิ จที่ มี การปลู กกั นอย างกว างขวาง ในยุ โรปตะวั นออก มี การปรั บปรุ งพั นธุ มาเป นระยะเวลา ยาวนาน เพื่ อใช สกั ดน้ ำมั นหอมระเหยกลิ่ นกุ หลาบ กุ หลาบมอญมี รู ปร างและขนาดของดอกแปรผั นแตกต าง กั นออกไปมากมาย ดั งนั้ นจึ งพอจะอนุ มานได ว า ชื่ อยี่ สุ น ที่ ตั้ งขึ้ นมาแต เดิ มเป นส วนหนึ่ งของกุ หลาบมอญหรื อ เป นหนึ่ งพั นธุ ปลู ก (cultivar) ของกุ หลาบมอญ และใช เรี ยกเฉพาะกุ หลาบมอญที่ มี ดอกเล็ ก ตามหนั งสื อชื่ อพรรณไม แห งประเทศไทย เต็ ม สมิ ติ นั นทน พ.ศ. ๒๕๔๔ ที่ ระบุ ว า ยี่ สุ น นอกจากจะ เป นชื่ อท องถิ่ นของกุ หลาบมอญที่ ผู คนในกรุ งเทพ มหานครบางกลุ มใช เรี ยกกั นแล ว ยั งเป นชื่ อท องถิ่ นที่ ผู คนในจั งหวั ดตรั ง ใช เรี ยกต น Lantana camera L. อยู ในวงศ Verbenaceae ที่ มี ชื่ อสามั ญว า ผกากรอง รวมทั้ งเป นชื่ อท องถิ่ นที่ ผู คนในกรุ งเทพมหานครบางกลุ ม ใช เรี ยกต น Tagetes patula L. อยู ในวงศ Compositae ที่ มี ชื่ อสามั ญว า ดาวเรื องน อย และคำว า ยี่ สุ น นี้ ยั งเป น ชื่ อสามั ญหรื อชื่ อทางการของต น Phlox drummondii Hook. ที่ อยู ในวงศ Polemoniaceae นอกจากนี้ ยั งมี คำว า ยี่ สุ นเถื่ อน ที่ ผู คนในจั งหวั ดสุ ราษฎร ธานี ใช เรี ยกต น Chromolaena odoratum (L.) King & H.Rob. อยู ในวงศ Compositae ที่ มี ชื่ อสามั ญว า สาบเสื อ และมี คำว า ยี่ สุ นหนู ที่ ผู คนในภาคกลางบางกลุ ม ใช เรี ยกต น Rosa chinensis Jacq. var. minima Voss ที่ มี ชื่ อสามั ญว า กุ หลาบแดงจี น ในป จจุ บั นชื่ อของ ยี่ สุ น ใช เรี ยกพรรณไม หลายชนิ ด และมี ความสั บสนมาก แต หากมี การระบุ ชื่ อ พฤกษศาสตร ลงไปด วยแล ว ก็ สามารถช วยป องกั นการ สั บสน ช วยให มี ความเข าใจได ตรงกั น
Mill. และมี ชื่ อภาษาอั งกฤษว า Damask rose อยู ในวงศ กุ หลาบ (Rosaceae) สำหรั บชื่ อพฤกษศาสตร และชื่ อภาษาอั งกฤษนี้ ในป จจุ บั นเป นชื่ อ ของพรรณไม ที่ มี ชื่ อสามั ญหรื อชื่ อทางการ ว า กุ หลาบมอญ เมื่ อพิ จารณาจากชื่ อ
พฤกษศาสตร ชื่ อภาษาอั งกฤษ และชื่ อท องถิ่ นแล ว แสดงว า กุ หลาบมอญและยี่ สุ น
Powered by FlippingBook