Quarter 1/2016

โครงการวิจัยดัมโบ

ภาคสนามครั

้งแรก เกิดขึ

้นในปี ๒๕๔๙

ใช้พื

้นที

่ในป่าจังหวัดภูเก็ต

หลังจากนั

้น ก็ได้ดำเนินการวิจัย

ก อนหน านั้ น ดร.กาญจนาได มี ส วนร วมในงานวิ จั ย ทางด านการสร างโครงข ายเคลื่ อนที่ เฉพาะกิ จ (Mobile Adhoc Network) กั บนั กวิ จั ยชั้ นแนวหน าจากหน วยงาน วิ จั ยสารสนเทศชั้ นนำของฝรั่ งเศส (INRIA) และของญี่ ปุ น (WIDE Project) มาแล ว งานวิ จั ยนั้ นมุ งเน นการสร าง โครงข าย WIFI Network แบบเคลื่ อนที่ เธอจึ งมองเห็ น ช องทางการนำเทคโนโลยี นี้ มาพั ฒนาเพิ่ มเติ มเพื่ อ ตอบโจทย ที่ เธอและที มงานตั้ งขึ้ นจากเหตุ การณ ภั ยพิ บั ติ โครงการวิ จั ยดั มโบภาคสนามครั้ งแรก เกิ ดขึ้ นในป ๒๕๔๙ ใช พื้ นที่ ในป าจั งหวั ดภู เก็ ต หลั งจากนั้ น ก็ ได ดำเนิ นการวิ จั ยภาคสนามที่ อื่ นๆ เพิ่ มขึ้ น และใช พาหนะ นำอุ ปกรณ ที่ หลากหลายขึ้ น เป นต นว า จั กรยาน เรื อ หรื อรถตุ กตุ ก ขณะเดี ยวกั น ก็ พั ฒนาอุ ปกรณ เชื่ อมต อ เครื อข ายอิ นเทอร เน็ ตไร สาย (WIFI Router / Mobile router) ที่ มี ราคาต่ ำ ติ ดตั้ งได ง าย และใช พลั งงานไฟฟ า น อย โดยทำให อุ ปกรณ แต ละตั วสามารถติ ดต อกั บ ตั วอื่ นๆ ที่ อยู ในรั ศมี ได เอง สร างเป นโครงข ายโยงใย ครอบคลุ มพื้ นที่ และผู ใช งานจะใช คอมพิ วเตอร หรื อ สมาร ทโฟน เชื่ อมต อผ าน WIFI เพื่ อใช งานโครงข าย และหากอุ ปกรณ เชื่ อมต อ WIFI ตั วใดเชื่ อมเข ากั บระบบ อิ นเทอร เน็ ตได แล ว ผู ใช งานคนอื่ นๆ ในพื้ นที่ โครงข าย ที่ เพิ่ งสร างขึ้ นใหม ก็ สามารถใช งานอิ นเทอร เน็ ตได เช นเดี ยวกั น ทั้ งยั งติ ดต อสื่ อสารระหว างกั นเองได ผ าน แอปพลิ เคชั่ นเฉพาะ เช น โทรศั พท หากั นผ าน VoIP (Voice Over Internet Protocal) หรื อคุ ยกั นแบบเห็ นภาพ (Video Call) ซึ่ งจะช วยในการให ความช วยเหลื อทาง การแพทย ระยะไกลได และหากนำ WIFI Router มาเชื่ อมต อกั บยู เอสบี แฟลชไดรฟ (USB Flash Drive) ก็ สามารถทำหน าที่ เสมื อนฮาร ดดิ สก สามารถใส ข อมู ล ที่ มี การเรี ยกใช บ อยลงไปได ทำให ผู ที่ เชื่ อมต อในโครงข าย สามารถดู วี ดี โอที่ มี ความละเอี ยดสู งได โดยไม ต อง เปลื องการรั บส งข อมู ลบนอิ นเทอร เน็ ต ตลอดจน สามารถติ ดตั้ งอุ ปกรณ ตรวจจั บต างๆ (sensor) เข าไป ด วย เพื่ อเก็ บข อมู ลที่ จำเป น เช น อุ ปกรณ วั ดคุ ณภาพ อากาศ แรงลม อุ ณหภู มิ เป นต น

ภาคสนามที

่อื

่นๆ เพิ

่มขึ

‘การบุ กเบิ ก’

ศ. ดร. กาญจนา บั งเกิ ดความคิ ดแรกเริ่ มในการ ทำงานวิ จั ยชุ ดนี้ ขึ้ นหลั งเกิ ดเหตุ การณ สึ นามิ ขึ้ นที่ ภาคใต ของประเทศไทย เมื่ อป ๒๕๔๗ ซึ่ งการให ความช วยเหลื อ แก ผู ประสบพิ บั ติ ภั ยในครั้ งนั้ นประสบกั บความยาก ลำบากในการสื่ อสารอย างมาก เพราะโครงสร างพื้ นฐาน ด านการสื่ อสารที่ มี ใช อยู ในขณะนั้ น เป นต นว า เครื อข าย สั ญญาณโทรศั พท มื อถื อ สาย เสา ชุ มสายโทรศั พท กระทั่ งเครื อข ายอิ นเทอร เน็ ต ไม สามารถทำงานได เนื่ องจากอุ ปกรณ กระจายสั ญญาณถู กทำลาย และจาก การโหมกระหน่ ำใช งานจากผู เกี่ ยวข องทุ กฝ าย ทำให เกิ ดภาวะ ‘คอขวด’ จนติ ดต อกั นไม ได ในนาที เร งด วน ที มนั กวิ จั ยของ ดร. กาญจนา จึ งเล็ งเห็ นว า หาก สามารถดั ดแปลงอุ ปกรณ แล็ ปท็ อปคอมพิ วเตอร ที่ เข าไป ในพื้ นที่ ด วยวิ ธี ใดวิ ธี หนึ่ ง และใช กั นอยู ในหมู อาสาสมั คร ให สื่ อสารและสร างโครงข ายการสื่ อสั ญญาณขึ้ นมาได ก็ จะเป นประโยชน ยิ่ ง ในป ๒๕๔๘ จึ งได ริ เริ่ มโครงการ วิ จั ยที่ ใช ชื่ อ ว า DUMBO (Digital Ubiquitous Mobile Broadband OLSR) ร วมกั บนั กวิ จั ยฝรั่ งเศส นำเสนอ การสร างเครื อข าย WIFI Network ขึ้ นจากเครื่ อง คอมพิ วเตอร ที่ มี อยู ให ใช สื่ อสารได ในภาวะฉุ กเฉิ น ครอบคลุ มพื้ นที่ เป าหมาย และให ผู ใช งานภายใต เครื อข ายสามารถสื่ อสารถึ งกั นภายในพื้ นที่ ได รวมทั้ ง เชื่ อมต อกั บอิ นเทอร เน็ ตภายนอกได ด วยเช นกั น โดยนำ อุ ปกรณ สื่ อสารติ ดไปกั บช าง ซึ่ งสามารถเคลื่ อนที่ เข าไป ในพื้ นที่ ทุ รกั นดาร ซึ่ งรถยนต เข าไม ถึ ง โดยไม สร าง ความเสี ยหายเพิ่ มเติ ม และการใช ช างหลายๆ ตั ว เดิ นเข าไปในพื้ นที่ เป าหมายพร อมๆ กั น ก็ จะเกิ ดการ สร างโครงข าย WIFI Network ขึ้ นมาได

Powered by