Quarter 1/2016

ประเทศไทย มีอัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต

เทียบกับจำนวนประชากรที

่ต่ำมาก

โครงข าย Mobile Adhoc Network ที่ ทดลอง สร างขึ้ นที่ บ านไทยสามั คคี นี้ ถื อว าประสบความสำเร็ จ อย างยิ่ ง ชาวบ านใช งานกั นอย างสะดวก เด็ กนั กเรี ยน สามารถนั่ งใช หาข อมู ลทำการบ านอยู ที่ บ าน หรื อรวมตั ว กั นใช งานที่ ศาลาอเนกประสงค ของหมู บ าน โดยไม ต อง เดิ นทางเข าไปใช งานอิ นเทอร เน็ ตที่ ตั วเมื องเหมื อนที่ เคย เป นมา ซึ่ งช วยลดความเป นห วงของผู ปกครองลง นอกจากนี้ เนื่ องด วยอุ ปกรณ ดั งกล าว ใช การดู แลที่ ไม ยุ งยากและมี ป ญหาน อย ชาวบ านที่ พอมี ความรู ทางด าน เทคนิ ค สามารถช วยดู แลซ อมแซม เคลื่ อนย าย หรื อ แม แต ขอ WIFI Router ตั วใหม ไปเปลี่ ยนเองได ค าย THNG ยั งได จั ดต อเนื่ องต อมา โดยค าย THNG ๔ ป ๒๕๕๗ จั ดขึ้ นที่ บ านห วยขมอาข า ต.แม ยาว อ.เมื อง จ.เชี ยงราย และในป ๒๕๕๘ ได จั ดค าย THNG ๕ ขึ้ นที่ หมู ๑ ต.บ านใหม อ.ท าสองยาง จ.ตาก การทำค ายที่ หมู บ านห างไกลเหล านี้ ทำให ได รู ว า หมู บ านปลายสายทั้ งหลายนี้ มี ผู ให บริ การอิ นเทอร เน็ ต เชิ งพาณิ ชย เดิ นสายเข าไปถึ งเพี ยง ๑ หรื อ ๒ คู สาย เท านั้ น ซึ่ งไม เพี ยงพอต อการใช งานของชาวบ าน แต เมื่ อโครงการวิ จั ยนี้ ได เข าไปสร างเครื อข าย WIFI Adhoc Network ขึ้ น ก็ ทำให ผู ให บริ การเชิ งพาณิ ชย เห็ นถึ งความต องการใช งานของชุ มชนว ามี อยู มาก ผู ให บริ การบางรายจึ งได ขยายการลงทุ นเข าไป เพิ่ ม จำนวนคู สายมากขึ้ น ครั วเรื อนใดที่ มี กำลั งทางเศรษฐกิ จ ก็ สามารถที่ จะขอใช บริ การแยกออกไปได ทางมู ลนิ ธิ THNIC ร วมกั บ intERLab ยั งคงจะ ดำเนิ นโครงการต อเนื่ องต อไป โดยวางแผนที่ จะเพิ่ ม จำนวนหมู บ านในโครงการให มากขึ้ น เพื่ อช วยเพิ่ ม ประชากรที่ เข าถึ งอิ นเทอร เน็ ต (Internet Penetration) ของไทยให มากขึ้ น ซึ่ งป จจุ บั น ยั งถื อว าประเทศไทย มี อั ตราการเข าถึ งอิ นเทอร เน็ ตเที ยบกั บจำนวนประชากร ที่ ต่ ำมาก จั ดเป นลำดั บที่ ๖ ในอาเซี ยน เป าหมายหลั ก ลำดั บต อไปของโครงการวิ จั ยชุ ดนี้ จึ งมุ งเน นให ประชาชน ปลายสายสามารถเข าถึ งอิ นเทอร เน็ ตให มากขึ้ น

จัดเป็นลำดับที

่ ๖ ในอาเซียน

Powered by