ผู เขี ยนเคยนึ กสงสั ยว าไทยเรี ยกลิ งมาแต ครั้ งไร ค นดู จากหลั กศิ ลาจารึ กครั้ งสุ โขทั ยก็ ไม พบ บางที จะเรี ยกว า “วอก” มาก อน จึ งเรี ยกป นั กษั ตรว า เป งวอก และ วอกหรมาน ที่ น าสั งเกตก็ คื อ ในสมั ยสุ โขทั ยใช คำว า วานร ซึ่ งเป นภาษาสั นสกฤต ชวนให คิ ดว าจะรั บอิ ทธิ พล มาจากเรื่ องรามายณะ แต คำว า “วานร” นั กปราชญ หลายท านได อธิ บายว าไม ได หมายถึ ง “ลิ ง” ในเรื่ อง “พงศาวดารการศึ กสงครามของพระรามาวตาร” ของ “ยี อี เยริ นี ” (G.E.Gerini) ได อธิ บายว า “ดุ จหนึ่ งคำว า ชาติ วานร ก็ ไม ควรเข าใจว าเป น ชาติ วานร คื อลิ งสั ตว เดรั จฉานแท ๆ คื อเป นแต คำพวก ชาวอิ นเดี ยเรี ยกชาวป าอย างหนึ่ งว าชาติ วานร... นั กปราชญ ผู รู ภาษาสั นสกฤตก็ อธิ บายว า วานร คำนั้ น แปลได สองอย างคื อ ชาววั น หรื อ ชาวป า อย างหนึ่ ง วา แปลว า เหมื อน กั บ นะระ แปลว า คน รวมความ แปลว า เหมื อนคนหรื อชาติ คล ายคน คื ออธิ บายว า เป นมนุ ษยชาติ ชาวป าที่ สมมุ ติ เรี ยกเปรี ยบกั นมาแต ก อน ว าพวกชาติ วานร ดั งนั้ นแท ๆ” สรุ ปว าชาวอิ นเดี ยสมั ยดึ กดำบรรพ เรี ยกคนป า พวกหนึ่ งว า วานร และเขายั งเชื่ ออี กว าหนุ มานไม ใช ลิ ง แต เป นมนุ ษย ที่ มี หางอย างลิ ง (Hanuman who was not a monkey, but a monkey tail person.) และเชื่ อว า ในเวลานี้ หนุ มานก็ ยั งมี ชี วิ ตอยู (เรื่ องหนุ มานตามทั ศนะ ของอิ นเดี ยมี เรื่ องมาก ถ าต องการทราบจะหาโอกาส เล าต อไป)
ตามจดหมายเหตุ ของจี นกล าวว า จี นรู จั กลิ ง มาแต ครั้ งดึ กดำบรรพ เป นสั ตว ที่ คุ นเคยกั บคนมาก มี ตำนานเล าว าเมื่ อครั้ งพระเจ าซิ หวั่ งตี่ สร างป อม ปราการขนาดใหญ และพระราชวั ง ต องใช หิ นก อน ใหญ ๆ จากหั วบ านหั วเมื องไกลๆ ใช คนงานมากมาย คนงานได รั บความลำบากยากแค นมาก และเพื่ อเป น การบำรุ งใจคนงาน ก็ โปรดให นำลิ งจำนวนมากมา ผู กติ ดกั บเกวี ยน ให คนคนลากเกวี ยนติ ดตามขบวน ขนหิ นไปด วย พวกลิ งเหล านี้ ก็ แสดงท าทางทำตลก คะนองให พวกคนงานดู ทำให พวกขนหิ นคลายความ เหน็ ดเหนื่ อยไปได บ าง เข าใจว าญี่ ปุ นคงรู เรื่ องนี้ เพราะมี เรื่ องทำนอง เดี ยวกั นคื อ ในสมั ยจั กรพรรดิ กั มมู เมื่ อ ค.ศ. ๗๙๔ (พ.ศ. ๑๓๓๗) พระจั กรพรรดิ ทรงย ายจากนครยามาโต ไปยั ง นครเกี ยวโต การสร างพระราชวั งใหม ต องใช คนงานมาก และเพื่ อให คนงานมี สิ่ งบั นเทิ งใจ จึ งได จั ดลิ งเป นกองเชี ยร ให ลิ งแต ละตั วสวมหมวกของ ข าราชการในราชสำนั ก แล วเต นไปรอบๆ บ างก็ ถอด หมวกโยนไปมา บ างก็ ตี ลั งกาหกคะเมนให คนงานดู พวกคนงานก็ ได รั บความสนุ กสนานเพลิ ดเพลิ น จนลื มความเหน็ ดเหนื่ อย นี่ ก็ เป นเรื่ องใช ลิ งให เป น ประโยชน ในสมั ยโบราณ รู ปลิ งของญี่ ปุ นที่ มี ชื่ อเสี ยงก็ คื อ รู ปแกะไม เป นรู ป ลิ งสามตั ว ตั วหนึ่ งเอามื อป ดตา ตั วหนึ่ งเอามื อป ดหู และอี กตั วหนึ่ งเอามื อป ดปาก มี คำอธิ บายว า ที่ เอามื อ ป ดตาทั้ งสองข างก็ เพื่ อไม ให ดู สิ่ งที่ ชั่ วร ายหรื อมองอะไร ในแง ร าย ที่ เอามื อป ดหู ก็ เพื่ อจะได ไม ฟ งเรื่ องที่ ชั่ วร าย และเอามื อป ดปากก็ เพื่ อจะได ไม พู ดในสิ่ งที่ ไม ดี ไม งาม ไม เป นมงคลทั้ งหลาย ที่ โลกวุ นวายอยู ทุ กวั นนี้ ก็ เพราะ การเห็ น การฟ ง การพู ด เป นเหตุ ให เกิ ดความเข าใจผิ ด อะไรต างๆ รู ปลิ งสามตั วจึ งเป นเครื่ องเตื อนใจคนที่ พบเห็ นได เป นอย างดี แม คนที่ ไม รู หนั งสื อก็ เข าใจได นอกจากนี้ คนญี่ ปุ นยั งเชื่ อว ารู ปลิ งเป นเครื่ องราง ป องกั นพวกตาร าย (Evil eyes) หรื อภู ตผี มิ ให มารบกวน เด็ ก คื อเขาจะทำรู ปลิ งด วยผ า ไม หรื อดิ น ให เป น เครื่ องเล นของเด็ ก และเสื้ อผ าที่ เด็ กสวมใส ก็ จะมี รู ปลิ ง ติ ดอยู ทางด านหลั งด วย เชื่ อกั นว าเป นเครื่ องรางของขลั ง ใช ขั บไล ภู ตผี ป ศาจได
Powered by FlippingBook