Quarter 1/2016

ผู เขี ยนเคยนึ กสงสั ยว าไทยเรี ยกลิ งมาแต ครั้ งไร ค นดู จากหลั กศิ ลาจารึ กครั้ งสุ โขทั ยก็ ไม พบ บางที จะเรี ยกว า “วอก” มาก อน จึ งเรี ยกป นั กษั ตรว า เป งวอก และ วอกหรมาน ที่ น าสั งเกตก็ คื อ ในสมั ยสุ โขทั ยใช คำว า วานร ซึ่ งเป นภาษาสั นสกฤต ชวนให คิ ดว าจะรั บอิ ทธิ พล มาจากเรื่ องรามายณะ แต คำว า “วานร” นั กปราชญ หลายท านได อธิ บายว าไม ได หมายถึ ง “ลิ ง” ในเรื่ อง “พงศาวดารการศึ กสงครามของพระรามาวตาร” ของ “ยี อี เยริ นี ” (G.E.Gerini) ได อธิ บายว า “ดุ จหนึ่ งคำว า ชาติ วานร ก็ ไม ควรเข าใจว าเป น ชาติ วานร คื อลิ งสั ตว เดรั จฉานแท ๆ คื อเป นแต คำพวก ชาวอิ นเดี ยเรี ยกชาวป าอย างหนึ่ งว าชาติ วานร... นั กปราชญ ผู รู ภาษาสั นสกฤตก็ อธิ บายว า วานร คำนั้ น แปลได สองอย างคื อ ชาววั น หรื อ ชาวป า อย างหนึ่ ง วา แปลว า เหมื อน กั บ นะระ แปลว า คน รวมความ แปลว า เหมื อนคนหรื อชาติ คล ายคน คื ออธิ บายว า เป นมนุ ษยชาติ ชาวป าที่ สมมุ ติ เรี ยกเปรี ยบกั นมาแต ก อน ว าพวกชาติ วานร ดั งนั้ นแท ๆ” สรุ ปว าชาวอิ นเดี ยสมั ยดึ กดำบรรพ เรี ยกคนป า พวกหนึ่ งว า วานร และเขายั งเชื่ ออี กว าหนุ มานไม ใช ลิ ง แต เป นมนุ ษย ที่ มี หางอย างลิ ง (Hanuman who was not a monkey, but a monkey tail person.) และเชื่ อว า ในเวลานี้ หนุ มานก็ ยั งมี ชี วิ ตอยู (เรื่ องหนุ มานตามทั ศนะ ของอิ นเดี ยมี เรื่ องมาก ถ าต องการทราบจะหาโอกาส เล าต อไป)

ตามจดหมายเหตุ ของจี นกล าวว า จี นรู จั กลิ ง มาแต ครั้ งดึ กดำบรรพ เป นสั ตว ที่ คุ นเคยกั บคนมาก มี ตำนานเล าว าเมื่ อครั้ งพระเจ าซิ หวั่ งตี่ สร างป อม ปราการขนาดใหญ และพระราชวั ง ต องใช หิ นก อน ใหญ ๆ จากหั วบ านหั วเมื องไกลๆ ใช คนงานมากมาย คนงานได รั บความลำบากยากแค นมาก และเพื่ อเป น การบำรุ งใจคนงาน ก็ โปรดให นำลิ งจำนวนมากมา ผู กติ ดกั บเกวี ยน ให คนคนลากเกวี ยนติ ดตามขบวน ขนหิ นไปด วย พวกลิ งเหล านี้ ก็ แสดงท าทางทำตลก คะนองให พวกคนงานดู ทำให พวกขนหิ นคลายความ เหน็ ดเหนื่ อยไปได บ าง เข าใจว าญี่ ปุ นคงรู เรื่ องนี้ เพราะมี เรื่ องทำนอง เดี ยวกั นคื อ ในสมั ยจั กรพรรดิ กั มมู เมื่ อ ค.ศ. ๗๙๔ (พ.ศ. ๑๓๓๗) พระจั กรพรรดิ ทรงย ายจากนครยามาโต ไปยั ง นครเกี ยวโต การสร างพระราชวั งใหม ต องใช คนงานมาก และเพื่ อให คนงานมี สิ่ งบั นเทิ งใจ จึ งได จั ดลิ งเป นกองเชี ยร ให ลิ งแต ละตั วสวมหมวกของ ข าราชการในราชสำนั ก แล วเต นไปรอบๆ บ างก็ ถอด หมวกโยนไปมา บ างก็ ตี ลั งกาหกคะเมนให คนงานดู พวกคนงานก็ ได รั บความสนุ กสนานเพลิ ดเพลิ น จนลื มความเหน็ ดเหนื่ อย นี่ ก็ เป นเรื่ องใช ลิ งให เป น ประโยชน ในสมั ยโบราณ รู ปลิ งของญี่ ปุ นที่ มี ชื่ อเสี ยงก็ คื อ รู ปแกะไม เป นรู ป ลิ งสามตั ว ตั วหนึ่ งเอามื อป ดตา ตั วหนึ่ งเอามื อป ดหู และอี กตั วหนึ่ งเอามื อป ดปาก มี คำอธิ บายว า ที่ เอามื อ ป ดตาทั้ งสองข างก็ เพื่ อไม ให ดู สิ่ งที่ ชั่ วร ายหรื อมองอะไร ในแง ร าย ที่ เอามื อป ดหู ก็ เพื่ อจะได ไม ฟ งเรื่ องที่ ชั่ วร าย และเอามื อป ดปากก็ เพื่ อจะได ไม พู ดในสิ่ งที่ ไม ดี ไม งาม ไม เป นมงคลทั้ งหลาย ที่ โลกวุ นวายอยู ทุ กวั นนี้ ก็ เพราะ การเห็ น การฟ ง การพู ด เป นเหตุ ให เกิ ดความเข าใจผิ ด อะไรต างๆ รู ปลิ งสามตั วจึ งเป นเครื่ องเตื อนใจคนที่ พบเห็ นได เป นอย างดี แม คนที่ ไม รู หนั งสื อก็ เข าใจได นอกจากนี้ คนญี่ ปุ นยั งเชื่ อว ารู ปลิ งเป นเครื่ องราง ป องกั นพวกตาร าย (Evil eyes) หรื อภู ตผี มิ ให มารบกวน เด็ ก คื อเขาจะทำรู ปลิ งด วยผ า ไม หรื อดิ น ให เป น เครื่ องเล นของเด็ ก และเสื้ อผ าที่ เด็ กสวมใส ก็ จะมี รู ปลิ ง ติ ดอยู ทางด านหลั งด วย เชื่ อกั นว าเป นเครื่ องรางของขลั ง ใช ขั บไล ภู ตผี ป ศาจได

Powered by