นโยบายต อต านจี นตามอิ ทธิ พลจากทางตะวั นตก ในสมั ยรั ชกาลที่ ๖ สมั ยจอมพล ป. พิ บู ลสงคราม และ สมั ยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ชต มิ ได ส งผลสื บเนื่ องที่ รุ นแรง เท าบางประเทศในดิ นแดนอุ ษาคเนย หากแต ก็ ได ผล ในระดั บที่ สามารถหยุ ดยั้ งการแผ อิ ทธิ พลทางความคิ ด ปฏิ วั ติ และกระแสการเมื องจากประเทศจี น ในหมู ลู กจี น ที่ มี จำนวนขยายตั วใหญ มากขึ้ นได ในบรรดา ‘คนไทยเชื้ อสายจี น’ ที่ ได รั บการแนะนำ ไว เป นจำนวนมากที่ สุ ดในท ายบทที่ ๗ นั้ น นำโดย ดร.ป วย อึ้ งภากรณ อดี ตผู ว าการธนาคารแห งประเทศ ไทย ในยุ คเริ่ มสร างเศรษฐกิ จสมั ยใหม ผู เป นปู ชนี ยบุ คคล ของนิ สิ ตนั กศึ กษารุ น ๑๔ ตุ ลาคม ๒๕๑๖ – ๖ ตุ ลาคม ๒๕๑๙ คุ ณชิ น โสภณพนิ ช แห งธนาคารกรุ งเทพ ผู สร าง ความมั่ งคั่ ง จนในป ที่ ท านถึ งแก กรรมเมื่ อ พ.ศ. ๒๕๓๑ ได เป นหนึ่ งในบรรดาชาวจี นโพ นทะเลผู ร่ ำรวยที่ สุ ด ในโลก คุ ณอุ เทน เตชะไพบู ลย ประธานมู ลนิ ธิ ป อเต็ กตึ๊ ง ตระกู ลโอสถสภา (เต็ กเฮงหยู ) ตระกู ลพรประภา ตระกู ล ศรี เฟ องฟุ ง คุ ณเที ยมและคุ ณสายพิ ณ โชควั ฒนา ผู สร าง อาณาจั กรสหพั ฒนพิ บู ลย และคุ ณไกรสร จั นศิ ริ แห ง บริ ษั ทไทยยู เนี่ ยนโฟรสเซ นส ฟู ด เจ าแห งผู ผลิ ตปลาทู น า กระป องระดั บโลก เป นต น ‘จากบู รพาสู อุ ษาคเนย ’ เป นหนึ่ งในหนั งสื ออ างอิ ง ของบทที่ ๗ และผู เขี ยนได อุ ทิ ศเนื้ อที่ ถึ งสองหน าครึ่ ง ในการเสนอประวั ติ ของท านอู พร อมทั้ งแนะนำว า หนั งสื อ ‘จากบู รพาสู อุ ษาคเนย ’ เป นหนั งสื อ ‘ต องอ าน’ สำหรั บผู สนใจเรื่ องราวของชุ มชนจี นในกรุ งเทพฯ ยุ คกลางศตวรรษที่ ๒๐ A History of the Thai-Chinese ได รั บการตี ค า อย างสู งจากผู ช วยอ านต นฉบั บก อนการตี พิ มพ หลายท าน มร.หวั ง กั งหวู แห งมหาวิ ทยาลั ยสิ งคโปร กล าวว า “คนจี นในประเทศไทยได ฝ งรากลึ กและมี บทบาทอยู ใน ประวั ติ ศาสตร ไทยร วมกั บคนไทยในทุ กระดั บ ปรากฏ- การณ นี้ เกิ ดขึ้ นได อย างไรและเพราะเหตุ ใด กลายเป น ปริ ศนาที่ เย ายวนใจชาวจี นและชาวต างชาติ อื่ นๆ ในดิ นแดนอุ ษาคเนย มาเนิ่ นนาน ไม เคยมี หนั งสื อเล มใด สามารถอธิ บายปรากฏการณ นี้ ได ดี เท ากั บหนั งสื อเล มนี้ รายละเอี ยดของบทบาทและคุ ณู ปการที่ คนไทยเชื้ อสาย จี นมี ต อประเทศที่ พวกเขาตั้ งรกราก เป นกุ ญแจดอก สำคั ญที่ ไขปริ ศนานี้ ให แก ข าพเจ าเมื่ อได อ าน และ หนั งสื อเล มนี้ ควรค าแก ผู อ านในวงกว างที่ สุ ด
มร.คริ สชอร มาห บู บานี คณบดี วิ ทยาลั ยลี กวนยู เพื่ อรั ฐประศาสนศาสตร มหาวิ ทยาลั ยสิ งคโปร กล าวถึ ง หนั งสื อเล มนี้ ว า “การประสบกั บความรุ งเรื องของ ภู มิ ภาคอุ ษาคเนย นั้ น ยั งเป นปริ ศนาที่ น าสนเท ห นั ก กุ ญแจดอกหนึ่ งที่ จะช วยไขปริ ศนานี้ ได ก็ คื อ การศึ กษา ถึ งบทบาทของชาวจี นที่ กระจายตั วอยู ทั่ วภู มิ ภาคนี้ และในเหล าประเทศต างๆ ในอุ ษาคเนย ก็ ไม มี ประเทศ ใดประสบความสำเร็ จด วยดี ในการกลื นกลายชาวจี น เท าประเทศไทย หนั งสื อเล มนี้ ให ความกระจ างแก กระบวนการดั งกล าวนั้ น เป นหนั งสื อที่ ‘ต องอ าน’ สำหรั บใครก็ ตามที่ มี ความสนใจในความเจริ ญรุ งเรื อง ของอุ ษาคเนย ผศ. ดร.วาสนา วงศ สุ รวั ฒน แห งคณะอั กษรศาสตร จุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย กล าวว า “A History of the Thai-Chinese เป นผลงานชิ้ นยอดเยี่ ยมที่ ช วยต อเติ ม ช องว างที่ ถู กละเลยมาเนิ่ นนานในวงการศึ กษาชาวจี น ในฐานะของชนกลุ มน อยในภู มิ ภาคอุ ษาคเนย คุ ณพิ มพ ประไพ พิ ศาลบุ ตร และคุ ณเจฟฟรี ซึ ง ได ศึ กษาวิ จั ยถึ งประวั ติ ศาสตร ที่ ไม ธรรมดาของความ น าสนเท ห ของบทบาทของชาวจี นที่ เป นชนกลุ มน อย ในสยามได อย างพิ ถี พิ ถั นและอย างครอบคลุ มมากที่ สุ ด ผลงานชิ้ นเอกเล มนี้ ได ทำหน าที่ เป ดขอบฟ าใหม ที่ เฝ าคอยกั นมานาน แก การศึ กษาบทบาทของชาวจี น ที่ กระจายตั วอยู ในภู มิ ภาคนี้
ปนั ดดา เลิ ศล้ ำอำไพ เป นนิ เทศศาสตร บั ณฑิ ต จุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย ทำงานเป นนั กข าว/ นั กเขี ยน ของหนั งสื อพิ มพ /นิ ตยสาร/สำนั กข าวต างประเทศ ระหว าง พ.ศ. ๒๕๑๗ – ๒๕๓๘ เป นกรรมการบริ หารสมาคมสโมสรผู สื่ อข าว ต างประเทศ ระหว าง พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๘ ตำแหน งสุ ดท าย คื อ นายกสมาคม เป นหนึ่ งในผู ร วมก อตั้ งและบริ หาร คณะละคร ‘สองแปด’ เป นเจ าหน าที่ บริ หารระดั บ Vice President ฝ ายการประชาสั มพั นธ ธนาคารกรุ งเทพ จำกั ด (มหาชน) ระหว าง พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๕๔ ป จจุ บั น เป นกรรมการบริ หารสมาคมนั กเขี ยนแห งประเทศไทย และมู ลนิ ธิ เพื่ อผู บริ โภค
Powered by FlippingBook