Quarter 3/2015

นโยบายต อต านจี นตามอิ ทธิ พลจากทางตะวั นตก ในสมั ยรั ชกาลที่ ๖ สมั ยจอมพล ป. พิ บู ลสงคราม และ สมั ยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ชต มิ ได ส งผลสื บเนื่ องที่ รุ นแรง เท าบางประเทศในดิ นแดนอุ ษาคเนย หากแต ก็ ได ผล ในระดั บที่ สามารถหยุ ดยั้ งการแผ อิ ทธิ พลทางความคิ ด ปฏิ วั ติ และกระแสการเมื องจากประเทศจี น ในหมู ลู กจี น ที่ มี จำนวนขยายตั วใหญ มากขึ้ นได ในบรรดา ‘คนไทยเชื้ อสายจี น’ ที่ ได รั บการแนะนำ ไว เป นจำนวนมากที่ สุ ดในท ายบทที่ ๗ นั้ น นำโดย ดร.ป วย อึ้ งภากรณ อดี ตผู ว าการธนาคารแห งประเทศ ไทย ในยุ คเริ่ มสร างเศรษฐกิ จสมั ยใหม ผู เป นปู ชนี ยบุ คคล ของนิ สิ ตนั กศึ กษารุ น ๑๔ ตุ ลาคม ๒๕๑๖ – ๖ ตุ ลาคม ๒๕๑๙ คุ ณชิ น โสภณพนิ ช แห งธนาคารกรุ งเทพ ผู สร าง ความมั่ งคั่ ง จนในป ที่ ท านถึ งแก กรรมเมื่ อ พ.ศ. ๒๕๓๑ ได เป นหนึ่ งในบรรดาชาวจี นโพ นทะเลผู ร่ ำรวยที่ สุ ด ในโลก คุ ณอุ เทน เตชะไพบู ลย ประธานมู ลนิ ธิ ป อเต็ กตึ๊ ง ตระกู ลโอสถสภา (เต็ กเฮงหยู ) ตระกู ลพรประภา ตระกู ล ศรี เฟ องฟุ ง คุ ณเที ยมและคุ ณสายพิ ณ โชควั ฒนา ผู สร าง อาณาจั กรสหพั ฒนพิ บู ลย และคุ ณไกรสร จั นศิ ริ แห ง บริ ษั ทไทยยู เนี่ ยนโฟรสเซ นส ฟู ด เจ าแห งผู ผลิ ตปลาทู น า กระป องระดั บโลก เป นต น ‘จากบู รพาสู อุ ษาคเนย ’ เป นหนึ่ งในหนั งสื ออ างอิ ง ของบทที่ ๗ และผู เขี ยนได อุ ทิ ศเนื้ อที่ ถึ งสองหน าครึ่ ง ในการเสนอประวั ติ ของท านอู พร อมทั้ งแนะนำว า หนั งสื อ ‘จากบู รพาสู อุ ษาคเนย ’ เป นหนั งสื อ ‘ต องอ าน’ สำหรั บผู สนใจเรื่ องราวของชุ มชนจี นในกรุ งเทพฯ ยุ คกลางศตวรรษที่ ๒๐ A History of the Thai-Chinese ได รั บการตี ค า อย างสู งจากผู ช วยอ านต นฉบั บก อนการตี พิ มพ หลายท าน มร.หวั ง กั งหวู แห งมหาวิ ทยาลั ยสิ งคโปร กล าวว า “คนจี นในประเทศไทยได ฝ งรากลึ กและมี บทบาทอยู ใน ประวั ติ ศาสตร ไทยร วมกั บคนไทยในทุ กระดั บ ปรากฏ- การณ นี้ เกิ ดขึ้ นได อย างไรและเพราะเหตุ ใด กลายเป น ปริ ศนาที่ เย ายวนใจชาวจี นและชาวต างชาติ อื่ นๆ ในดิ นแดนอุ ษาคเนย มาเนิ่ นนาน ไม เคยมี หนั งสื อเล มใด สามารถอธิ บายปรากฏการณ นี้ ได ดี เท ากั บหนั งสื อเล มนี้ รายละเอี ยดของบทบาทและคุ ณู ปการที่ คนไทยเชื้ อสาย จี นมี ต อประเทศที่ พวกเขาตั้ งรกราก เป นกุ ญแจดอก สำคั ญที่ ไขปริ ศนานี้ ให แก ข าพเจ าเมื่ อได อ าน และ หนั งสื อเล มนี้ ควรค าแก ผู อ านในวงกว างที่ สุ ด

มร.คริ สชอร มาห บู บานี คณบดี วิ ทยาลั ยลี กวนยู เพื่ อรั ฐประศาสนศาสตร มหาวิ ทยาลั ยสิ งคโปร กล าวถึ ง หนั งสื อเล มนี้ ว า “การประสบกั บความรุ งเรื องของ ภู มิ ภาคอุ ษาคเนย นั้ น ยั งเป นปริ ศนาที่ น าสนเท ห นั ก กุ ญแจดอกหนึ่ งที่ จะช วยไขปริ ศนานี้ ได ก็ คื อ การศึ กษา ถึ งบทบาทของชาวจี นที่ กระจายตั วอยู ทั่ วภู มิ ภาคนี้ และในเหล าประเทศต างๆ ในอุ ษาคเนย ก็ ไม มี ประเทศ ใดประสบความสำเร็ จด วยดี ในการกลื นกลายชาวจี น เท าประเทศไทย หนั งสื อเล มนี้ ให ความกระจ างแก กระบวนการดั งกล าวนั้ น เป นหนั งสื อที่ ‘ต องอ าน’ สำหรั บใครก็ ตามที่ มี ความสนใจในความเจริ ญรุ งเรื อง ของอุ ษาคเนย ผศ. ดร.วาสนา วงศ สุ รวั ฒน แห งคณะอั กษรศาสตร จุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย กล าวว า “A History of the Thai-Chinese เป นผลงานชิ้ นยอดเยี่ ยมที่ ช วยต อเติ ม ช องว างที่ ถู กละเลยมาเนิ่ นนานในวงการศึ กษาชาวจี น ในฐานะของชนกลุ มน อยในภู มิ ภาคอุ ษาคเนย คุ ณพิ มพ ประไพ พิ ศาลบุ ตร และคุ ณเจฟฟรี ซึ ง ได ศึ กษาวิ จั ยถึ งประวั ติ ศาสตร ที่ ไม ธรรมดาของความ น าสนเท ห ของบทบาทของชาวจี นที่ เป นชนกลุ มน อย ในสยามได อย างพิ ถี พิ ถั นและอย างครอบคลุ มมากที่ สุ ด ผลงานชิ้ นเอกเล มนี้ ได ทำหน าที่ เป ดขอบฟ าใหม ที่ เฝ าคอยกั นมานาน แก การศึ กษาบทบาทของชาวจี น ที่ กระจายตั วอยู ในภู มิ ภาคนี้

ปนั ดดา เลิ ศล้ ำอำไพ เป นนิ เทศศาสตร บั ณฑิ ต จุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย ทำงานเป นนั กข าว/ นั กเขี ยน ของหนั งสื อพิ มพ /นิ ตยสาร/สำนั กข าวต างประเทศ ระหว าง พ.ศ. ๒๕๑๗ – ๒๕๓๘ เป นกรรมการบริ หารสมาคมสโมสรผู สื่ อข าว ต างประเทศ ระหว าง พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๘ ตำแหน งสุ ดท าย คื อ นายกสมาคม เป นหนึ่ งในผู ร วมก อตั้ งและบริ หาร คณะละคร ‘สองแปด’ เป นเจ าหน าที่ บริ หารระดั บ Vice President ฝ ายการประชาสั มพั นธ ธนาคารกรุ งเทพ จำกั ด (มหาชน) ระหว าง พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๕๔ ป จจุ บั น เป นกรรมการบริ หารสมาคมนั กเขี ยนแห งประเทศไทย และมู ลนิ ธิ เพื่ อผู บริ โภค

Powered by