สระศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ งสี่
â´Â ÍÃØ ³ÈÑ ¡´Ôì ¡Ôè §Á³Õ
ตำนานเรื่ องเล าของชาวบ าน นิ ทานเชิ งตำนานเล าถึ งสระศั กดิ์ สิ ทธิ์ แห งนี้ ว า ครั้ งหนึ่ ง มี เจ าเมื องผู ครองนครองค หนึ่ ง มี ธิ ดา ๔ องค ชื่ อ แก ว คา ยมนา และ เกต พระธิ ดาสามองค แรกมี สวามี เป นคนธรรมดา แต ธิ ดาองค สุ ดท องมี สวามี เป นลิ งเผื อก ต อมาเมื่ อเจ าเมื องรู ว าตนเองชราภาพลงมาก จึ งคิ ดจะ ยกเมื องให กั บลู กเขยครองแทน โดยตั้ งกติ กาว า ให พระธิ ดา ช วยกั นขุ ดสระให เสร็ จภายใน ๗ วั น ผู ใดขุ ดสระได ใหญ ที่ สุ ด ก็ จะให สวามี ของธิ ดาองค นั้ นเป นเจ าเมื องแทน ธิ ดาและสวามี ๓ คู แรก ต างช วยกั นขุ ดสระ ยกเว นธิ ดา องค สุ ดท องที่ ต องขุ ดเพี ยงคนเดี ยว และก็ ยั งถู กพวกพี่ กลั่ นแกล ง โดยนำดิ นมาถมใส จนกระทั่ งในคื นสุ ดท าย ธิ ดาเกตจึ งอ อน วอนให ลิ งเผื อกช วยเหลื อ พญาลิ งจึ งพาพลพรรคลิ งมาช วยขุ ด จนได สระใหญ กว าสระของธิ ดาผู พี่ ทั้ งสาม และยั งทำเป นเกาะ กลางน้ ำปลู กต นเกตเพื่ อเป นสั ญลั กษณ ไว ด วย พอรุ งเช า เจ าเมื องเกิ ดสวรรคตไปก อน บรรดาเสนา อำมาตย พิ จารณากั นแล ว เห็ นว า สระของเกตกั บลิ งเผื อก ใหญ กว าของคู อื่ น จึ งมี มติ มอบราชสมบั ติ ให ครอบครองแทน ธิ ดาองค พี่ ทั้ งสามและสวามี ไม พอใจ จึ งขโมยพระขรรค ศั กดิ์ สิ ทธิ์ หนี ไป พญาลิ งเผื อกออกติ ดตามไปทั นกั นที่ สระเกต พวกพี่ จึ งขว างพระขรรค ลงสระ บั งเอิ ญถู กต นเกตขาดสะบั้ น ล มลง และพระขรรค ก็ จมสู ญหายไปด วย ตั้ งแต นั้ นมาสระ ดั งกล าวจึ งกลายเป นสระศั กดิ์ สิ ทธิ์ เนื่ องจากมี พระขรรค ศั กดิ์ สิ ทธิ์ อยู ภายในสระแห งนี้ ตำนานดั งกล าว คงเป นการแต งขึ้ นโดยผู คนในรุ นหลั ง เพื่ อเล าถึ งความศั กดิ์ สิ ทธิ์ ของสระทั้ งสี่ ซึ่ งเรื่ องเล าประเภทนี้ ถื อเป นขนบอย างหนึ่ งที่ มั กพบอยู เสมอในสั งคมไทยครั้ งอดี ต เพื่ อแสดงให เห็ นถึ งมู ลเหตุ แห งความศั กดิ์ สิ ทธิ์ ของบริ เวณพื้ นที่ ต างๆ นั่ นเอง
ภู มิ สถานของสระโบราณทั้ งสี่ สระศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ งสี่ ตั้ งอยู ที่ บ านท าเสด็ จ ตำบลสระแก ว อำเภอเมื อง จั งหวั ดสุ พรรณบุ รี ห างจากตั วเมื องสุ พรรณบุ รี มาทางทิ ศตะวั นตกเฉี ยงเหนื อ ประมาณ ๑๘ กิ โลเมตร โดยอยู ใกล กั บลำน้ ำท าว า ซึ่ งเป นลำน้ ำสายเก าของแม น้ ำสุ พรรณบุ รี สระศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ งสี่ ประกอบด วย สระน้ ำโบราณทรง สี่ เหลี่ ยมผื นผ า จำนวน ๔ สระอยู ในปริ มณฑลเดี ยวกั น มี ชื่ อว า สระแก ว สระคา สระยมนา และ สระเกษ โดย สระแก ว อยู ด านเหนื อสุ ด ถั ดลงมาเป น สระคา ส วน สระยมนา อยู ทาง ทิ ศตะวั นตกของ สระคา และด านล างทางทิ ศใต เป นที่ ตั้ งของ สระเกษ ที่ มี ขนาดใหญ ที่ สุ ด นอกจากนี้ ในป จจุ บั นยั งพบสระ ขนาดเล็ กอี ก ๒ สระ ตั้ งอยู ระหว างสระยมนา และสระเกษ บางท านเรี ยกว า สระอมฤต ๑ และ ๒ แม ว าตำแหน งของสระ ทั้ งสองแห งนี้ จะปรากฏอยู ในผั งของกรมศิ ลปากร มาตั้ งแต ป พ.ศ.๒๕๐๙ แล ว แต กลั บไม ปรากฏอยู ในเอกสารจดหมายเหตุ รุ นเก าแต อย างใด จึ งสั นนิ ษฐานว าน าจะเป นสระที่ ขุ ดขึ้ นใหม ในระยะหลั ง และมิ ได มี ความสั มพั นธ กั บสระศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ งสี่ แต อย างใด บริ เวณใกล กั บสระเกษ มี คั นดิ นอยู ๑ แนว กล าวกั นว า แนวคั นดิ นดั งกล าวนี้ มี ทอดตั วยาวไปทางทิ ศใต จนถึ งเมื องเก า แต ป จจุ บั นถู กไถรื้ อปรั บพื้ นที่ จนเกื อบสิ้ นสภาพแล ว คงเหลื อ เพี ยงไม มากนั ก ด านบนของคั นดิ นมี เจดี ย ที่ สร างใหม เมื่ อ ประมาณ ๔๐ ป ตั้ งอยู อย างไรก็ ตามผลจากการขุ ดแต งทาง โบราณคดี ของกรมศิ ลปากร เมื่ อป พ.ศ. ๒๕๔๙ พบว าด านล าง ของเจดี ย มี ฐานโบราณสถาน ๑ หลั ง ก อด วยอิ ฐ ลั กษณะคล าย ฐานของมณฑป แต ไม สามารถศึ กษารู ปแบบที่ สมบู รณ ได เนื่ องจากพบหลั กฐานหลงเหลื ออยู ค อนข างน อย
Powered by FlippingBook