Quarter 1/2014

สระศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ งสี่

â´Â ÍÃØ ³ÈÑ ¡´Ôì ¡Ôè §Á³Õ

ตำนานเรื่ องเล าของชาวบ าน นิ ทานเชิ งตำนานเล าถึ งสระศั กดิ์ สิ ทธิ์ แห งนี้ ว า ครั้ งหนึ่ ง มี เจ าเมื องผู ครองนครองค หนึ่ ง มี ธิ ดา ๔ องค ชื่ อ แก ว คา ยมนา และ เกต พระธิ ดาสามองค แรกมี สวามี เป นคนธรรมดา แต ธิ ดาองค สุ ดท องมี สวามี เป นลิ งเผื อก ต อมาเมื่ อเจ าเมื องรู ว าตนเองชราภาพลงมาก จึ งคิ ดจะ ยกเมื องให กั บลู กเขยครองแทน โดยตั้ งกติ กาว า ให พระธิ ดา ช วยกั นขุ ดสระให เสร็ จภายใน ๗ วั น ผู ใดขุ ดสระได ใหญ ที่ สุ ด ก็ จะให สวามี ของธิ ดาองค นั้ นเป นเจ าเมื องแทน ธิ ดาและสวามี ๓ คู แรก ต างช วยกั นขุ ดสระ ยกเว นธิ ดา องค สุ ดท องที่ ต องขุ ดเพี ยงคนเดี ยว และก็ ยั งถู กพวกพี่ กลั่ นแกล ง โดยนำดิ นมาถมใส จนกระทั่ งในคื นสุ ดท าย ธิ ดาเกตจึ งอ อน วอนให ลิ งเผื อกช วยเหลื อ พญาลิ งจึ งพาพลพรรคลิ งมาช วยขุ ด จนได สระใหญ กว าสระของธิ ดาผู พี่ ทั้ งสาม และยั งทำเป นเกาะ กลางน้ ำปลู กต นเกตเพื่ อเป นสั ญลั กษณ ไว ด วย พอรุ งเช า เจ าเมื องเกิ ดสวรรคตไปก อน บรรดาเสนา อำมาตย พิ จารณากั นแล ว เห็ นว า สระของเกตกั บลิ งเผื อก ใหญ กว าของคู อื่ น จึ งมี มติ มอบราชสมบั ติ ให ครอบครองแทน ธิ ดาองค พี่ ทั้ งสามและสวามี ไม พอใจ จึ งขโมยพระขรรค ศั กดิ์ สิ ทธิ์ หนี ไป พญาลิ งเผื อกออกติ ดตามไปทั นกั นที่ สระเกต พวกพี่ จึ งขว างพระขรรค ลงสระ บั งเอิ ญถู กต นเกตขาดสะบั้ น ล มลง และพระขรรค ก็ จมสู ญหายไปด วย ตั้ งแต นั้ นมาสระ ดั งกล าวจึ งกลายเป นสระศั กดิ์ สิ ทธิ์ เนื่ องจากมี พระขรรค ศั กดิ์ สิ ทธิ์ อยู ภายในสระแห งนี้ ตำนานดั งกล าว คงเป นการแต งขึ้ นโดยผู คนในรุ นหลั ง เพื่ อเล าถึ งความศั กดิ์ สิ ทธิ์ ของสระทั้ งสี่ ซึ่ งเรื่ องเล าประเภทนี้ ถื อเป นขนบอย างหนึ่ งที่ มั กพบอยู เสมอในสั งคมไทยครั้ งอดี ต เพื่ อแสดงให เห็ นถึ งมู ลเหตุ แห งความศั กดิ์ สิ ทธิ์ ของบริ เวณพื้ นที่ ต างๆ นั่ นเอง

ภู มิ สถานของสระโบราณทั้ งสี่ สระศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ งสี่ ตั้ งอยู ที่ บ านท าเสด็ จ ตำบลสระแก ว อำเภอเมื อง จั งหวั ดสุ พรรณบุ รี ห างจากตั วเมื องสุ พรรณบุ รี มาทางทิ ศตะวั นตกเฉี ยงเหนื อ ประมาณ ๑๘ กิ โลเมตร โดยอยู ใกล กั บลำน้ ำท าว า ซึ่ งเป นลำน้ ำสายเก าของแม น้ ำสุ พรรณบุ รี สระศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ งสี่ ประกอบด วย สระน้ ำโบราณทรง สี่ เหลี่ ยมผื นผ า จำนวน ๔ สระอยู ในปริ มณฑลเดี ยวกั น มี ชื่ อว า สระแก ว สระคา สระยมนา และ สระเกษ โดย สระแก ว อยู ด านเหนื อสุ ด ถั ดลงมาเป น สระคา ส วน สระยมนา อยู ทาง ทิ ศตะวั นตกของ สระคา และด านล างทางทิ ศใต เป นที่ ตั้ งของ สระเกษ ที่ มี ขนาดใหญ ที่ สุ ด นอกจากนี้ ในป จจุ บั นยั งพบสระ ขนาดเล็ กอี ก ๒ สระ ตั้ งอยู ระหว างสระยมนา และสระเกษ บางท านเรี ยกว า สระอมฤต ๑ และ ๒ แม ว าตำแหน งของสระ ทั้ งสองแห งนี้ จะปรากฏอยู ในผั งของกรมศิ ลปากร มาตั้ งแต ป พ.ศ.๒๕๐๙ แล ว แต กลั บไม ปรากฏอยู ในเอกสารจดหมายเหตุ รุ นเก าแต อย างใด จึ งสั นนิ ษฐานว าน าจะเป นสระที่ ขุ ดขึ้ นใหม ในระยะหลั ง และมิ ได มี ความสั มพั นธ กั บสระศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ งสี่ แต อย างใด บริ เวณใกล กั บสระเกษ มี คั นดิ นอยู ๑ แนว กล าวกั นว า แนวคั นดิ นดั งกล าวนี้ มี ทอดตั วยาวไปทางทิ ศใต จนถึ งเมื องเก า แต ป จจุ บั นถู กไถรื้ อปรั บพื้ นที่ จนเกื อบสิ้ นสภาพแล ว คงเหลื อ เพี ยงไม มากนั ก ด านบนของคั นดิ นมี เจดี ย ที่ สร างใหม เมื่ อ ประมาณ ๔๐ ป ตั้ งอยู อย างไรก็ ตามผลจากการขุ ดแต งทาง โบราณคดี ของกรมศิ ลปากร เมื่ อป พ.ศ. ๒๕๔๙ พบว าด านล าง ของเจดี ย มี ฐานโบราณสถาน ๑ หลั ง ก อด วยอิ ฐ ลั กษณะคล าย ฐานของมณฑป แต ไม สามารถศึ กษารู ปแบบที่ สมบู รณ ได เนื่ องจากพบหลั กฐานหลงเหลื ออยู ค อนข างน อย

Powered by