Quarter 2/2015

จากสารคดี เรื่ อง “พะออกพระแข” ของ “นายสมฤทธิ์ สหุ นาฬุ ” (ปราชญ ชาวบ าน ภู มิ ป ญญา ท องถิ่ น กวี ชนบท และคนดี ศี ขรภู มิ ผู ล วงลั บไปแล ว) ที่ ลงไว ในหนั งสื อที่ ระลึ กงานพระราชทานเพลิ งศพ พระครู พิ บู ลวรการ (ป น ที ปคุ โณ) เมื่ อ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๓๒ ณ เมรุ วั ดปราสาท ต.ระแงง อ.ศี ขรภู มิ จ.สุ ริ นทร เขี ยนไว (หน า ๔๘—๕๑) ความว า “เดื อนสิ บสอง ข าวเหนี ยวพั นธุ เบาจำพวกข าวบั งเอวกำลั งโน มรวงเริ่ ม สุ กเหลื อง พอเหมาะกั บการตำข าวเม า กรอบอร อย การทำบุ ญตั กบาตรข าวเม าจึ งเกิ ดขึ้ นเป นธรรมเนี ยม ประเพณี สื บทอดกั นมาแต โบราณกาล เพื่ ออุ ทิ ศ ส วนกุ ศลให บรรพบุ รุ ษผู ล วงลั บไปแล ว แต การตั กบาตร ข าวเม านั้ น เขาทำกั นในเวลากลางคื น เมื่ อพระจั นทร วั นเพ็ ญเดื อนสิ บสองอยู ตรงศี รษะพอดี ผู เฒ าและหนุ มสาวในชุ มชน ต างออกมาร วมพิ ธี กั นอย างคั บคั่ ง กลางลานวั ดจะป กเสาสองต นสู งท วม ศี รษะ ห างกั นราว ๒ เมตร มี ไม กลมๆ เป นราวสู ง เพี ยงตา ที่ ราวติ ดเที ยนขี้ ผึ้ ง ผู กราวติ ดไว กั บเสาหลวมๆ พอหมุ นได ไม ติ ดขั ด ที่ ทางเหล านี้ มั คนายก ร วมกั บ พระในวั ดช วยกั นตระเตรี ยมไว แล วตั้ งแต บ าย ฯลฯ สามทุ มล วงแล ว พระจั นทร เต็ มดวงพ นปลายไม สว างไสวดุ จกลางวั น ผู เฒ า หนุ มสาว และเด็ ก ถื อขั น แบกกระเฌอ หรื อ ถ วยโถโอชาม บรรจุ ข าวเม ากั บ กล วยสุ ก คนละหวี สองหวี ตามมี ตามเกิ ดไปชุ มนุ มกั นที่ ลานวั ด หนุ มสาวแต งกายด วยเสื้ อผ าอาภรณ ที่ สวยสด งดงามประกวดประชั นกั น ห างจากที่ ตั้ งเสาพิ ธี พอประมาณ จะปู ด วยเสื่ อสาด ลาดด วยผ าขาว ตั้ งบาตรไว เรี ยงราย ได เวลาใกล เที่ ยงคื น นิ มนต พระเข าประจำที่ สมาทานศี ล สวดมนต ผู คน จะยกขั นขึ้ นอธิ ษฐาน ขอให กุ ศลผลบุ ญที่ ประกอบในวั นนี้ จงมี แก บุ พการี แล วบรรจงใส บาตรข าวเม ากั นจนทั่ วถึ ง ผู คนจะกระจายกั นนั่ งรายรอบที่ ตั้ งเสาพิ ธี อยู ห างๆ ปล อยเสาพิ ธี สถานให เป นลานกว างวงกลมในเขต พิ ธี กรรม รอกำหนดประกอบพิ ธี กรรม

พิ จารณาเนื้ อความจากสารคดี ดั งกล าว ประเพณี ปะอ อกเปรี๊ ยะแค ของอี สานใต ที่ เลื อนหายไป มี ส วน ละม ายคล ายกั บประเพณี ไหว พระแข ชุ มชนไทยเชื้ อสาย กุ ย-เขมร ในตำบลสนามคลี ตำบลบ านโพธิ์ ตำบลตลิ่ งชั น จั งหวั ดสุ พรรณบุ รี ชาวกุ ย และชาวเขมร ได อพยพเข ามาพึ่ งพระบรม โพธิ สมภารในสมั ยรั ชกาลที่ ๑ เรื่ อยมาจนสมั ยรั ชกาลที่ ๕ ชาวกุ ย ตั้ งบ านเรื อนอยู ริ มแม น้ ำท าว า แถบวั ดจำปา วั ดสกุ ณป กษี ตำบลสนามคลี ส วนชาวเขมร อยู แถบ วั ดประชุ มชน ตำบลบ านโพธิ์ วั ดสามทอง วั ดสุ วรรณนาคี ตำบลตลิ่ งชั น อำเภอเมื อง จั งหวั ดสุ พรรณบุ รี ประเพณี “ไหว พระแข” หมายถึ ง การไหว พระจั นทร ซึ่ งชาวไทยเชื้ อสายกุ ย-เขมรในจั งหวั ดสุ พรรณบุ รี จั ดขึ้ น เป นประจำทุ กป ที่ วั ดประชุ มชน วั ดสกุ ลป กษี วั ดสามทอง และวั ดสุ วรรณนาคี ประเพณี “ไหว พระแข” มี จุ ดมุ งหมาย เพื่ อพยากรณ ปริ มาณน้ ำฝนในป หน าว าจะตกมากหรื อ น อยเพี ยงใด และชาวนาจะได ลงมื อทำนาให ถู กต อง กั บฤดู กาลที่ ฝนตก เพื่ อความเป นสิ ริ มงคลแก ชุ มชน ตลอดจนอุ ทิ ศส วนกุ ศลแก บรรพชน ประเพณี “ไหว พระแข” มี ลั กษณะผสมผสาน ระหว างศาสนาพุ ทธและศาสนาพราหมณ เพื่ อให เกิ ด ความเป นสิ ริ มงคลและความอุ ดมสมบู รณ รวมทั้ งความ สามั คคี ของคนในท องถิ่ น

Powered by