Quarter 2/2017

เรื่ องราวเกี่ ยวกั บเรื อกสวน ยั งปรากฏในบั นทึ ก การเดิ นทางของ เจ.จี . เคอนิ ก ที่ เข ามาในสยามยุ ค กรุ งธนบุ รี เมื่ อป ๒๓๑๑ ระบุ ว า บางกอกมี สวนตาม สองฟากฝ งแม น้ ำ มี ขนาดกว าง ๑๐๐-๑,๐๐๐ ฟุ ต ถั ดจากนั้ นเป นเขตนาข าวกว างไกลสุ ดสายตา ถั ดออกไป ไม ไกลจากตั วเมื องยั งเป นป ารก นอกจากนี้ ลึ กเข าไปในคลองบางหลวง ตั้ งแต วั ดบางยี่ เรื อ หรื อวั ดอิ นทาราม ซึ่ งเป นวั ดสำคั ญยิ่ ง ในยุ คกรุ งธนบุ รี ไปจนถึ งวั ดหมู หรื อวั ดอั ปสรสวรรค ก็ เป นย านคนจี นที่ มี อาชี พเลี้ ยงหมู และทำสวนพลู นั กวิ ชาการเชื่ อว าน าจะเป นชุ มชนจี นเก าแก ก อนสมั ย กรุ งธนบุ รี เพราะใกล คลองด านซึ่ งเป นเส นทางสั ญจร สำคั ญมาแต โบราณ ชาวจี นทั้ งจากกรุ งเก าและที่ อพยพ จากเมื องจี นเข ามาในยุ คกรุ งธนบุ รี ก็ น าจะเข ามาอยู อาศั ยในย านนี้ ส งให ชุ มชนขยายตั วจนกลายเป นย าน การค าสำคั ญในฝ งธนฯ ไม เพี ยงเท านั้ นยั งมี ข อมู ลบ งชี้ ว าตั้ งแต ช วงปลาย อยุ ธยาสื บมาถึ งยุ คกรุ งธนบุ รี และต นรั ตนโกสิ นทร มี คนจี นตั้ งหลั กแหล งในลุ มแม น้ ำสายใหญ ๆ รวมถึ ง เมื องตลอดชายฝ งด านอ าวไทยโดยเฉพาะบริ เวณปาก แม น้ ำ โดยมี การคำนวณกั นว าน าจะมี คนจี นในสยาม ไม ต่ ำกว า ๓๑,๐๐๐ คน มี ลู กหลานจี นที่ คาดว าเกิ ดใน สยามราว ๕,๐๐๐ คน นั บเป นชาวต างชาติ กลุ มใหญ ที่ สุ ดในกรุ งธนบุ รี “แขก(ถ อ)แพ” ล องเจ าพระยาหนี พม าสู เมื องใหม คนต างภาษาที่ มี บทบาทสำคั ญและเป นกลุ มใหญ ในยุ คธนบุ รี รองลงมาจากชาวจี น ก็ คื อผู ที่ มั กถู กเรี ยก รวมๆ ว า ‘แขก’ ซึ่ งมี ความหลากหลาย และมี มิ ติ ทาง วั ฒนธรรมที่ ซั บซ อน กาญจนาคพั นธุ ให ความหมายของแขกไว ว า คนแปลกหน าที่ ไม ใช พวกเดี ยวกั บเราซึ่ งคงถื อเอารู ปร าง หน าตาและศาสนาที่ ต างกั น ส วน ธี รนั นท ช วงพิ ชิ ต ผู ก อตั้ งศู นย ข อมู ล ประวั ติ ศาสตร ชุ มชนธนบุ รี อธิ บายว า กลุ มชนที่ คนไทย เรี ยกว าแขกนั้ น มี ความหมายที่ กว างกว า ‘มุ สลิ ม’ แขกในความรั บรู ของคนไทยมี หลายกลุ ม ซึ่ งมี อิ ทธิ พล ตั้ งแต ยุ คกรุ งเก า สื บถึ งยุ คกรุ งธนบุ รี และต อเนื่ องไปยั ง กรุ งรั ตนโกสิ นทร โดยมี ส วนในการขั บเคลื่ อนสั งคม ในแง มุ มต างๆ บริ เวณ ‘มั สยิ ดต นสน’ ที่ ชาวมุ สลิ มเรี ยกว า กุ ฎี ใหญ ถื อเป นหั วใจสำคั ญของชาวมุ สลิ มในกรุ งธนบุ รี

ตั้ งอยู ในเขตบางกอกใหญ เป นพื้ นที่ ซึ่ งมุ สลิ มนิ กายสุ หนี่ จากคลองตะเคี ยน พระนครศรี อยุ ธยา ถ อแพตามลำน้ ำ เจ าพระยา มายั งกรุ งธนบุ รี หลั งกรุ งแตกมาพั กอาศั ยกั บ ชุ มชนมุ สลิ มที่ มี อยู ก อนแล ว กระจายตั วตลอด ๒ ฝ ง คลองบางหลวง คลองบางกอกน อย ไปจนถึ งริ มแม น้ ำ เจ าพระยาบริ เวณเชิ งสะพานป นเกล าฝ งธนบุ รี ในป จจุ บั น โดยมั กเรี ยกมุ สลิ มกลุ มนี้ ว า ‘แขกแพ’ เนื่ องจากอาศั ย ในแพ มี อาชี พค าขายแป งกระแจะ น้ ำอบ เสื้ อผ า และเครื่ องเทศ เป นต น เมื่ อชุ มชนเริ่ มหนาแน น มี การ สร างมั สยิ ดบางหลวง หรื อกุ ฎี ขาวในฝ งตรงข ามขึ้ นอี ก ๑ แห ง นอกจากมุ สลิ มนิ กายสุ หนี่ ยั งมี มุ สลิ มนิ กายชี อะห หรื อที่ คนไทยเรี ยกว า ‘เจ าเซ็ น’ ซึ่ งอพยพจากกรุ งศรี อยุ ธยาหลั งกรุ งแตกล องแพมาตามแม น้ ำเจ าพระยา พั กแถบคลองบางกอกใหญ กลายเป นประชากร กลุ มใหม ของกรุ งธนบุ รี ญวนลี้ ภั ย กลายเป นชาวกรุ งธนฯ อี กหนึ่ งชนชาติ ที่ เข ามาอิ งอาศั ยตั้ งหลั กแหล ง ในกรุ งธนก็ คื อชาวญวน ซึ่ งเดิ มสร างบ านเรื อนอยู ฝ งตะวั นออกเหมื อนชาวจี น ตั้ งแต บริ เวณวั ดสลั ก ถึ งวั ดเลี ยบ พอสิ้ นยุ คกรุ งธนบุ รี ร.๑ โปรดให ย ายไป บริ เวณที่ ป จจุ บั นคื อชุ มชนรอบๆ วั ดญวนนางเลิ้ ง แต ป จจุ บั นยั งหลงเหลื อบางส วนอยู แถบวั ดญวน บ านหม อ หรื อวั ดทิ พยวารี อี กส วนหนึ่ งอยู ในย าน ท าเตี ยนอพยพเข ามาในยุ คองเชี ยงสื อ ตั้ งถิ่ นฐานใกล วั ดโพธิ์ สมเด็ จกรมพระยาดำรงราชานุ ภาพ ตรั สเล าเรื่ องนี้ ไว ว า เมื่ อเกิ ดกบฏที่ เมื องเว เมื่ อ พ.ศ.๒๓๑๖ ตรงกั บ สมั ยกรุ งธนบุ รี เชื้ อพระวงศ ญวนถู กสั งหารเป นจำนวน มาก องค เชี ยงซุ น ราชบุ ตรองค ที่ ๔ หนี ไปอยู ที่ เมื อง ฮาเตี ยน หรื อบั นทายมาศ ก อนจะเข ามาพึ่ งพระบรม โพธิ สมภารสมเด็ จพระเจ าตากสิ น โดยโปรดให ชาวญวน ที่ เข ามาในครั้ งนั้ น ตั้ งบ านเรื อนอยู นอกกำแพงพระนคร ฝ งตะวั นออก คื อจากท าเตี ยนไปถึ งพาหุ รั ดนั่ นเอง อย างไรก็ ตามในภายหลั งทรงสั่ งประหารองเชี ยงซุ น และญวนที่ เหลื อออกไป เนื่ องจากจั บได ว าเป นไส ศึ ก ครั้ นเข าสู ยุ ครั ตนโกสิ นทร ร.๑ ทรงเรี ยกชาวญวนเหล านี้ กลั บมาใหม แล วพระราชทานที่ ดิ นบริ เวณบ านญวนเดิ ม รวมถึ งพระราชทานที่ ดิ นย านบางโพ ซึ่ งเป นที่ ตั้ ง วั ดอนั มนิ กาย หลั งจากนั้ น ยั งมี ชาวญวนลี้ ภั ยเข ามา เพิ่ มเติ ม โดยเฉพาะสมั ยรั ชกาลที่ ๔

Powered by