Quarter 2/2017

นาข าว “คลองเขมร” สื บเป นชาวฝ งธน มาถึ งเพื่ อนบ านที่ มี เส นเขตแดนประชิ ดติ ดกั น อย างเขมร ก็ เป นอี กกลุ มชาติ พั นธุ ที่ เป นส วนหนึ่ งของ กรุ งธนบุ รี ประวั ติ ศาสตร บอกเล าของชาวเขมรวั ดทุ ง หรื อวั ด โพธิ์ ทอง ริ มคลองบางปะแก วต อกั บคลองลั ดขี้ เหล็ ก ในฝ งธนบุ รี ระบุ ว าบรรพบุ รุ ษของตนเข ามาตั้ งหลั กแหล ง ตั้ งแต ยุ คกรุ งศรี อยุ ธยา หรื อยุ คกรุ งธนบุ รี สร างบ าน บริ เวณทุ งนาแล วค อยสร างวั ดเป นศู นย รวมจิ ตใจ มี อาชี พ ทำนาเลี้ ยงตนอี กทั้ งส งข าวส วนหนึ่ งไปให เจ านายในวั ง ซึ่ งเป นเจ าของที่ ดิ น ภายหลั งเปลี่ ยนจากทำนาเป นสวนหมาก สวนส ม จึ งระดมกั นขุ ดคลองเล็ กๆ ชั กน้ ำเข าสวน เรี ยกชื่ อต อมา ว า “คลองเขมร” ต อมาเปลี่ ยนชื่ อเป นคลองเจ าคุ ณ ชื่ อบ านนามคลอง บอกเล าเรื่ องมอญ หากลองเป ดแผนที่ ไล ชื่ อบ าน นามเมื อง จนถึ ง แม น้ ำลำคลองในฝ งธน จะพบว ามี หลายคำที่ ถู กหยิ บยื ม จากภาษาอื่ น หนึ่ งในนั้ นก็ คื อ ภาษามอญ ซึ่ งทิ้ งร อยรอย หลั กฐานเป นประวั ติ ศาสตร ความทรงจำถึ งการมี อยู ของ ชุ มชนมอญเก าแก อาทิ ชื่ อแขวง ดาวคะนอง ซึ่ งป จจุ บั น อยู ในเขตธนบุ รี คำว าคะนอง เป นภาษามอญ แปลว า ดาว ดาวคะนอง จึ งเป นคำที่ มี ความหมายซ อนกั น แม ยั งไม อาจตี ความได อย างแน ชั ดว ามี ที่ มาอย างไร แต มี การพบพระพุ ทธรู ปหิ นทรายที่ มี เค าว าเก าถึ งยุ ค กรุ งศรี อยุ ธยาที่ วั ดดาวคะนองและวั ดกลางดาวคะนอง บ งชี้ ว ามี ชุ มชนอยู ที่ นี่ ตั้ งแต ยุ คกรุ งเก า สื บมาทุ กยุ คสมั ย ทั้ งธนบุ รี และรั ตนโกสิ นทร จวบจนทุ กวั นนี้

องค บรรจุ น คนไทยเชื้ อสายมอญจากสมุ ทร- ปราการ ผู เชี่ ยวชาญด านประวั ติ ศาสตร และวั ฒนธรรม มอญ เล าว า กลุ มมอญที่ เก าที่ สุ ด น าจะอยู ในเขตธนบุ รี เช น ชุ มชนในย านวั ดจั นทาราม วั ดอิ นทาราม วั ดราชคฤห และวั ดประดิ ษฐาราม คาดว าอพยพมาตั้ งแต ยุ คกรุ ง ศรี อยุ ธยา นอกจากนี้ ยั งมี ชื่ อแม น้ ำลำคลอง อย าง คลองมอญ อยู ระหว างเขตบางกอกน อยและบางกอกใหญ ปรากฏ หลั กฐานว าเคยเป นที่ ตั้ งของชุ มชนชาวมอญในยุ คกรุ ง ธนบุ รี สื บเนื่ องกรุ งรั ตนโกสิ นทร ตอนต น ที่ ตั้ งบ านเรื อน เรี ยงรายตลอดแนวคลองธรรมชาติ นอกจากนี้ มี ประวั ติ ว าชื่ อคลองมอญ สั มพั นธ กั บท าวทรงกั นดาร (ทองมอญ) เจ าจอมในยุ คกรุ งเก า ครั้ นเสี ยแก พม า ได เข าสวามิ ภั กดิ์ ต อพระเจ าตากสิ นพร อมญาติ ๆ โดยเป นที่ ไว วางพระราช หฤทั ยตลอดมา และได พระราชทานที่ ดิ นบริ เวณปลาย คลองแยกจากแม น้ ำเจ าพระยาฝ งตะวั นตกให อยู กั บ ญาติ และข าทาสบริ วารปลู กบ านเรื อนบริ เวณที่ เรี ยกว า คลองมอญในป จจุ บั น อย างไรก็ ตาม ทุ กวั นนี้ ไม ปรากฏ ว ามี ผู มี เชื้ อสายมอญอาศั ยเป นกลุ มก อนแต อย างใด พลั งลาวชาวเวี ยงจั นทน ไม กล าวถึ งไม ได สำหรั บเครื อญาติ ชาติ พั นธุ สุ ดชิ ดใกล ที่ เป นส วนหนึ่ งในประวั ติ ศาสตร กรุ งธนบุ รี อย างชาวลาว เมื่ อพระเจ าตากสิ น โปรดให พระยาจั กรี (รั ชกาลที่ ๑) ยกทั พไปตี ได เมื องเวี ยงจั นทน เมื่ อ พ.ศ. ๒๓๒๒ แล วอั ญเชิ ญพระแก วมรกตลงมาประดิ ษฐาน ที่ วั ดแจ ง หรื อวั ดอรุ ณราชวราราม โดยคราวนั้ นมี การ กวาดต อนท าวนางจากเวี ยงจั นทน อี กทั้ งเชลยลาวเข า

Powered by