นาข าว “คลองเขมร” สื บเป นชาวฝ งธน มาถึ งเพื่ อนบ านที่ มี เส นเขตแดนประชิ ดติ ดกั น อย างเขมร ก็ เป นอี กกลุ มชาติ พั นธุ ที่ เป นส วนหนึ่ งของ กรุ งธนบุ รี ประวั ติ ศาสตร บอกเล าของชาวเขมรวั ดทุ ง หรื อวั ด โพธิ์ ทอง ริ มคลองบางปะแก วต อกั บคลองลั ดขี้ เหล็ ก ในฝ งธนบุ รี ระบุ ว าบรรพบุ รุ ษของตนเข ามาตั้ งหลั กแหล ง ตั้ งแต ยุ คกรุ งศรี อยุ ธยา หรื อยุ คกรุ งธนบุ รี สร างบ าน บริ เวณทุ งนาแล วค อยสร างวั ดเป นศู นย รวมจิ ตใจ มี อาชี พ ทำนาเลี้ ยงตนอี กทั้ งส งข าวส วนหนึ่ งไปให เจ านายในวั ง ซึ่ งเป นเจ าของที่ ดิ น ภายหลั งเปลี่ ยนจากทำนาเป นสวนหมาก สวนส ม จึ งระดมกั นขุ ดคลองเล็ กๆ ชั กน้ ำเข าสวน เรี ยกชื่ อต อมา ว า “คลองเขมร” ต อมาเปลี่ ยนชื่ อเป นคลองเจ าคุ ณ ชื่ อบ านนามคลอง บอกเล าเรื่ องมอญ หากลองเป ดแผนที่ ไล ชื่ อบ าน นามเมื อง จนถึ ง แม น้ ำลำคลองในฝ งธน จะพบว ามี หลายคำที่ ถู กหยิ บยื ม จากภาษาอื่ น หนึ่ งในนั้ นก็ คื อ ภาษามอญ ซึ่ งทิ้ งร อยรอย หลั กฐานเป นประวั ติ ศาสตร ความทรงจำถึ งการมี อยู ของ ชุ มชนมอญเก าแก อาทิ ชื่ อแขวง ดาวคะนอง ซึ่ งป จจุ บั น อยู ในเขตธนบุ รี คำว าคะนอง เป นภาษามอญ แปลว า ดาว ดาวคะนอง จึ งเป นคำที่ มี ความหมายซ อนกั น แม ยั งไม อาจตี ความได อย างแน ชั ดว ามี ที่ มาอย างไร แต มี การพบพระพุ ทธรู ปหิ นทรายที่ มี เค าว าเก าถึ งยุ ค กรุ งศรี อยุ ธยาที่ วั ดดาวคะนองและวั ดกลางดาวคะนอง บ งชี้ ว ามี ชุ มชนอยู ที่ นี่ ตั้ งแต ยุ คกรุ งเก า สื บมาทุ กยุ คสมั ย ทั้ งธนบุ รี และรั ตนโกสิ นทร จวบจนทุ กวั นนี้
องค บรรจุ น คนไทยเชื้ อสายมอญจากสมุ ทร- ปราการ ผู เชี่ ยวชาญด านประวั ติ ศาสตร และวั ฒนธรรม มอญ เล าว า กลุ มมอญที่ เก าที่ สุ ด น าจะอยู ในเขตธนบุ รี เช น ชุ มชนในย านวั ดจั นทาราม วั ดอิ นทาราม วั ดราชคฤห และวั ดประดิ ษฐาราม คาดว าอพยพมาตั้ งแต ยุ คกรุ ง ศรี อยุ ธยา นอกจากนี้ ยั งมี ชื่ อแม น้ ำลำคลอง อย าง คลองมอญ อยู ระหว างเขตบางกอกน อยและบางกอกใหญ ปรากฏ หลั กฐานว าเคยเป นที่ ตั้ งของชุ มชนชาวมอญในยุ คกรุ ง ธนบุ รี สื บเนื่ องกรุ งรั ตนโกสิ นทร ตอนต น ที่ ตั้ งบ านเรื อน เรี ยงรายตลอดแนวคลองธรรมชาติ นอกจากนี้ มี ประวั ติ ว าชื่ อคลองมอญ สั มพั นธ กั บท าวทรงกั นดาร (ทองมอญ) เจ าจอมในยุ คกรุ งเก า ครั้ นเสี ยแก พม า ได เข าสวามิ ภั กดิ์ ต อพระเจ าตากสิ นพร อมญาติ ๆ โดยเป นที่ ไว วางพระราช หฤทั ยตลอดมา และได พระราชทานที่ ดิ นบริ เวณปลาย คลองแยกจากแม น้ ำเจ าพระยาฝ งตะวั นตกให อยู กั บ ญาติ และข าทาสบริ วารปลู กบ านเรื อนบริ เวณที่ เรี ยกว า คลองมอญในป จจุ บั น อย างไรก็ ตาม ทุ กวั นนี้ ไม ปรากฏ ว ามี ผู มี เชื้ อสายมอญอาศั ยเป นกลุ มก อนแต อย างใด พลั งลาวชาวเวี ยงจั นทน ไม กล าวถึ งไม ได สำหรั บเครื อญาติ ชาติ พั นธุ สุ ดชิ ดใกล ที่ เป นส วนหนึ่ งในประวั ติ ศาสตร กรุ งธนบุ รี อย างชาวลาว เมื่ อพระเจ าตากสิ น โปรดให พระยาจั กรี (รั ชกาลที่ ๑) ยกทั พไปตี ได เมื องเวี ยงจั นทน เมื่ อ พ.ศ. ๒๓๒๒ แล วอั ญเชิ ญพระแก วมรกตลงมาประดิ ษฐาน ที่ วั ดแจ ง หรื อวั ดอรุ ณราชวราราม โดยคราวนั้ นมี การ กวาดต อนท าวนางจากเวี ยงจั นทน อี กทั้ งเชลยลาวเข า
Powered by FlippingBook