ปฐมฤกษ รถไฟหลวง (การพั ฒนาประเทศกำลั งเริ่ มขึ้ นแล ว)
ก อนที่ จะเริ่ มการก อสร างทางรถไฟหลวงสายแรก คื อสายกรุ งเทพฯ - นครราชสี มา ในเดื อนมี นาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล าฯ ให สั มปทานสร าง ทางรถไฟสายแรกโดยเอกชนขึ้ นก อน ในเดื อนกรกฎาคม ป เดี ยวกั น (สมั ยนั้ นยั งขึ้ นป ใหม ในเดื อนเมษายน) ถึ งแม จะมี ความยาวเพี ยง ๒๑ กิ โลเมตร จากกรุ งเทพฯ ถึ ง ปากน้ ำ สมุ ทรปราการ แต ก็ มี ความสำคั ญไม น อยเพราะ นอกจากจะให ประสบการณ ในการที่ จะสร างทางรถไฟ ของหลวงขึ้ นแล ว ทางรถไฟสายปากน้ ำนี้ ยั งมี พระราช- ประสงค เพื่ อประโยชน ในการปกป องอธิ ปไตยของชาติ บ านเมื องเป นสำคั ญเช นกั นกั บทางรถไฟหลวงสายแรก พระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล าเจ าอยู หั ว พร อม ด วยสมเด็ จพระบรมโอรสาธิ ราช เจ าฟ ามหาวชิ รุ ณหิ ศ สยามมกุ ฎราชกุ มาร เสด็ จพระราชดำเนิ นทรงประกอบ พระราชพิ ธี กระทำพระฤกษ คื อการขุ ดดิ นเพื่ อเริ่ มวาง รางรถไฟสายกรุ งเทพฯ - นครราชสี มา ณ บริ เวณพิ ธี ที่ อยู ตรงข ามกั บวั ดเทพศิ ริ นทราวาส เมื่ อวั นที่ ๙ มี นาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ ส วนการก อสร างทางรถไฟ สายกรุ งเทพฯ - ปากน้ ำ โดยบริ ษั ทเอกชนชาวเดนมาร ก เริ่ มขึ้ นตั้ งแต วั นที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ ใช เวลา ไม ถึ ง ๒ ป ก็ แล วเสร็ จ และพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอม- เกล าเจ าอยู หั ว ได เสด็ จพระราชดำเนิ นทรงทำพิ ธี เป ด การเดิ นรถไฟ ณ สถานี สมุ ทรปราการเมื่ อวั นที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๓๖ ส วนทางรถไฟของหลวง เมื่ อการ ก อสร างแล วเสร็ จพอเดิ นรถไฟได ถึ งอยุ ธยา จึ งได มี พระราชพิ ธี “ปฐมฤกษ รถไฟหลวง” ขึ้ นเมื่ อวั นศุ กร ที่ ๒๖ มี นาคม พ.ศ.๒๔๓๙ ผมใคร นำประวั ติ รถจั กรไอน้ ำที่ ใช ในครั้ งนั้ น มาเล า สู กั นฟ งจากข อเขี ยนของท านอาจารย สรรพสิ ริ ในหนั งสื อ “เรารั กรถไฟ” ความว า “ภายหลั งพระราชพิ ธี “ปฐมฤกษ รถไฟหลวง” กรมรถไฟได เป ดการเดิ นรถไฟรั บส งผู โดยสารและ บรรทุ กสิ นค าขึ้ นเป นประจำในทางรถไฟสายกรุ งเทพ- นครราชสี มา “มี หลั กฐานที่ บั นทึ กไว ในเอกสารของชาวต าง ประเทศว า รถจั กรไอน้ ำรุ นแรกที่ ส งเข ามาใช สำหรั บการ รถไฟสายนครราชสี มา เป นรถที่ สร างที่ เมื องกลาสโกว ในสก อตแลนด โดยบริ ษั ทชื่ อ DUBS ซึ่ งถ าอ านออก เสี ยงอย างเยอรมั นก็ อาจอ านได ว า “ดู บส ”
บน : หั วรถจั กรไอน้ ำ Krauss ที่ เคยวิ่ งบนเส นทางสายปากน้ ำ ล าง : สถานี รถไฟสายปากน้ ำเคยตั้ งอยู หน าสถานี รถไฟหั วลำโพง ป จจุ บั นคื อทางออกสถานี รถไฟใต ดิ นสถานี หั วลำโพง
Powered by FlippingBook