การออกแบบเพื่ อรั บสภาพแวดล อมที่ รุ นแรง แท นขุ ดเจาะน้ ำมั นกลางทะเลของโครงการเฮบรอน จะถู กสร างขึ้ นให ทนต อสภาพอากาศที่ เลวร ายที่ สุ ดใน ธรรมชาติ “มั นถู กออกแบบให ทนทานต อน้ ำแข็ งในทะเล ภู เขาน้ ำแข็ ง และสภาพอากาศอั นรุ นแรงที่ มั กพบในแถบนี้ ของอเมริ กาเหนื อ” เจฟฟ พาร คเกอร ผู จั ดการโครงการ อาวุ โสกล าว แท นผลิ ตของโครงการเฮบรอนประกอบด วยสอง ส วน คื อ โครงสร างที่ ใช แรงดึ งดู ดของโลกหรื อ GBS ซึ่ งแยกใช งานได เดี่ ยวๆ และส วนดาดฟ าที่ อยู ด านบนสุ ด GBS จะมี รู ปทรงคล ายแท นสู งประมาณ ๔๐๐ ฟุ ต ส วนฐานมี ขนาดเส นผ านศู นย กลางเท ากั บส วนบน สร าง ด วยคอนกรี ตเสริ มเหล็ กปริ มาตร ๔.๖ ล านลู กบาศก ฟุ ต สามารถจุ น้ ำมั นดิ บได สู งสุ ด ๑.๒ ล านบาร เรล ส วน ดาดฟ าหนั ก ๖๕,๐๐๐ ตั น ซึ่ งมี การติ ดตั้ งอุ ปกรณ เครื่ องจั กรที่ ใช ผลิ ตน้ ำมั นชนิ ดหนั กในโครงการเฮบรอน ด านบนของ GBS “เราจะทำการแยกน้ ำมั น น้ ำ และก าซออกจากกั น บนแท นขุ ดเจาะ” พาร คเกอร กล าว “และจะเก็ บน้ ำมั น เสถี ยร (stabilized oil) ที่ ได ไว ใน GBS แล วจึ งขนส ง น้ ำมั นทางท อไปที่ เรื อบรรทุ กน้ ำมั นซึ่ งจะนำน้ ำมั นไปยั ง คลั งน้ ำมั นหรื อโรงกลั่ นน้ ำมั นที่ อยู บนภาคพื้ นดิ นต อไป” หน วยปฏิ บั ติ การบนดาดฟ าด านบน ซึ่ งจะจั ดเป น เขตที่ พั กอาศั ยสำหรั บคนงานจำนวน ๒๒๐ คน และ ติ ดตั้ งอุ ปกรณ สำหรั บการขุ ดเจาะและการผลิ ต กำลั งอยู ระหว างการก อสร างในหลายพื้ นที่ งานวิ ศวกรรมและ งานประกอบท อและอุ ปกรณ ส วนใหญ สำหรั บ GBS และหน วยปฏิ บั ติ การบนดาดฟ าสองโมดู ล กำลั ง ดำเนิ นการอยู ในนิ วฟาวด แลนด และลาบราดอร ส วน หน วยปฏิ บั ติ การอี กสองโมดู ลกำลั งก อสร างอยู ใน เกาหลี ใต เมื่ อก อสร างเสร็ จ หน วยปฏิ บั ติ การทั้ งหมดสี่ โมดู ล จะถู กนำมายั งสถานที่ ก อสร างแท นขุ ดเจาะของโครงการ เฮบรอนเพื่ อเชื่ อมเข ากั บ GBS หลั งจากตรวจสอบ เตรี ยมความพร อมการใช งานแล ว แท นขุ ดเจาะจะถู ก ลากจู งมาที่ แหล งน้ ำมั นเพื่ อเริ่ มปฏิ บั ติ งาน
โครงการขนาดใหญ แหล งน้ ำมั นเฮบรอนอยู ห างจากเซนต จอห น เมื องหลวงของนิ วฟาวด แลนด และลาบราดอร ไปทาง ตะวั นออกเฉี ยงใต กว า ๒๐๐ ไมล ใกล กั บไอซ เบิ ร ก- แอลลี ย อั นโด งดั ง ซึ่ งเป นจุ ดที่ ภู เขาน้ ำแข็ งสู งตระหง าน ไหลผ านลงมาจากกรี นแลนด แหล งเฮบรอนอยู ในเขต เดี ยวกั บแหล งน้ ำมั นไฮเบอร เนี ยซึ่ งในป ค.ศ.๑๙๙๗ ได มี การติ ดตั้ งโครงสร างที่ ใช แรงดึ งดู ดของโลกและ สามารถต านทานภู เขาน้ ำแข็ งได เป นแห งแรกในโลก แหล งเฮบรอนอยู ลึ กลงไปใต น้ ำ ๓๐๐ ฟุ ต ในแอ งฌอง- ดารค ประมาณการว ามี ทรั พยากรอยู ราว ๑ พั นล าน บาร เรล และคาดว าจะผลิ ตน้ ำมั นได เป นครั้ งแรกใน ป ค.ศ.๒๐๑๗ ที่ ปริ มาณสู งสุ ด ๑๕๐,๐๐๐ บาร เรลต อวั น เอ็ กซอนโมบิ ลแคนาดา พร็ อพเพอร ตี ส เป นบริ ษั ท ผู ดำเนิ นการโครงการมู ลค า ๑๔,๐๐๐ ล านเหรี ยญสหรั ฐนี้ โดยมี ส วนร วมในการลงทุ นร อยละ ๓๖ ผู ร วมทุ นได แก เชฟรอน แคนาดา จำกั ด (ร อยละ ๒๖.๗) ซั นคอร เอเนอร จี อิ งค (ร อยละ ๒๒.๗) สแตทออยล แคนาดา (ร อยละ ๙.๗) และ นาลคอร เอเนอร จี ออยล แอนด ก าซ (ร อยละ ๔.๗) “เฮบรอนเป นหนึ่ งในโครงการพั ฒนาแหล งน้ ำมั น ขนาดใหญ หลายโครงการที่ เอ็ กซอนโมบิ ลจะดำเนิ นการ ผลิ ตตลอดห าป ข างหน า” นี ล ดั บบลิ ว. ดั ฟฟ น ประธาน บริ ษั ทเอ็ กซอนโมบิ ล ดี เวลล็ อปเมนท กล าว “บริ ษั ทจะ นำความเชี่ ยวชาญในการพั ฒนาและดำเนิ นงานโครงการ ในแถบขั้ วโลกเหนื อ มาใช พั ฒนาแหล งทรั พยากรระดั บ โลกนี้ ซึ่ งมี สภาพการปฏิ บั ติ งานที่ เต็ มไปด วยความ ท าทาย”
Powered by FlippingBook