Quarter 2/2014

การออกแบบเพื่ อรั บสภาพแวดล อมที่ รุ นแรง แท นขุ ดเจาะน้ ำมั นกลางทะเลของโครงการเฮบรอน จะถู กสร างขึ้ นให ทนต อสภาพอากาศที่ เลวร ายที่ สุ ดใน ธรรมชาติ “มั นถู กออกแบบให ทนทานต อน้ ำแข็ งในทะเล ภู เขาน้ ำแข็ ง และสภาพอากาศอั นรุ นแรงที่ มั กพบในแถบนี้ ของอเมริ กาเหนื อ” เจฟฟ พาร คเกอร ผู จั ดการโครงการ อาวุ โสกล าว แท นผลิ ตของโครงการเฮบรอนประกอบด วยสอง ส วน คื อ โครงสร างที่ ใช แรงดึ งดู ดของโลกหรื อ GBS ซึ่ งแยกใช งานได เดี่ ยวๆ และส วนดาดฟ าที่ อยู ด านบนสุ ด GBS จะมี รู ปทรงคล ายแท นสู งประมาณ ๔๐๐ ฟุ ต ส วนฐานมี ขนาดเส นผ านศู นย กลางเท ากั บส วนบน สร าง ด วยคอนกรี ตเสริ มเหล็ กปริ มาตร ๔.๖ ล านลู กบาศก ฟุ ต สามารถจุ น้ ำมั นดิ บได สู งสุ ด ๑.๒ ล านบาร เรล ส วน ดาดฟ าหนั ก ๖๕,๐๐๐ ตั น ซึ่ งมี การติ ดตั้ งอุ ปกรณ เครื่ องจั กรที่ ใช ผลิ ตน้ ำมั นชนิ ดหนั กในโครงการเฮบรอน ด านบนของ GBS “เราจะทำการแยกน้ ำมั น น้ ำ และก าซออกจากกั น บนแท นขุ ดเจาะ” พาร คเกอร กล าว “และจะเก็ บน้ ำมั น เสถี ยร (stabilized oil) ที่ ได ไว ใน GBS แล วจึ งขนส ง น้ ำมั นทางท อไปที่ เรื อบรรทุ กน้ ำมั นซึ่ งจะนำน้ ำมั นไปยั ง คลั งน้ ำมั นหรื อโรงกลั่ นน้ ำมั นที่ อยู บนภาคพื้ นดิ นต อไป” หน วยปฏิ บั ติ การบนดาดฟ าด านบน ซึ่ งจะจั ดเป น เขตที่ พั กอาศั ยสำหรั บคนงานจำนวน ๒๒๐ คน และ ติ ดตั้ งอุ ปกรณ สำหรั บการขุ ดเจาะและการผลิ ต กำลั งอยู ระหว างการก อสร างในหลายพื้ นที่ งานวิ ศวกรรมและ งานประกอบท อและอุ ปกรณ ส วนใหญ สำหรั บ GBS และหน วยปฏิ บั ติ การบนดาดฟ าสองโมดู ล กำลั ง ดำเนิ นการอยู ในนิ วฟาวด แลนด และลาบราดอร ส วน หน วยปฏิ บั ติ การอี กสองโมดู ลกำลั งก อสร างอยู ใน เกาหลี ใต เมื่ อก อสร างเสร็ จ หน วยปฏิ บั ติ การทั้ งหมดสี่ โมดู ล จะถู กนำมายั งสถานที่ ก อสร างแท นขุ ดเจาะของโครงการ เฮบรอนเพื่ อเชื่ อมเข ากั บ GBS หลั งจากตรวจสอบ เตรี ยมความพร อมการใช งานแล ว แท นขุ ดเจาะจะถู ก ลากจู งมาที่ แหล งน้ ำมั นเพื่ อเริ่ มปฏิ บั ติ งาน

โครงการขนาดใหญ แหล งน้ ำมั นเฮบรอนอยู ห างจากเซนต จอห น เมื องหลวงของนิ วฟาวด แลนด และลาบราดอร ไปทาง ตะวั นออกเฉี ยงใต กว า ๒๐๐ ไมล ใกล กั บไอซ เบิ ร ก- แอลลี ย อั นโด งดั ง ซึ่ งเป นจุ ดที่ ภู เขาน้ ำแข็ งสู งตระหง าน ไหลผ านลงมาจากกรี นแลนด แหล งเฮบรอนอยู ในเขต เดี ยวกั บแหล งน้ ำมั นไฮเบอร เนี ยซึ่ งในป ค.ศ.๑๙๙๗ ได มี การติ ดตั้ งโครงสร างที่ ใช แรงดึ งดู ดของโลกและ สามารถต านทานภู เขาน้ ำแข็ งได เป นแห งแรกในโลก แหล งเฮบรอนอยู ลึ กลงไปใต น้ ำ ๓๐๐ ฟุ ต ในแอ งฌอง- ดารค ประมาณการว ามี ทรั พยากรอยู ราว ๑ พั นล าน บาร เรล และคาดว าจะผลิ ตน้ ำมั นได เป นครั้ งแรกใน ป ค.ศ.๒๐๑๗ ที่ ปริ มาณสู งสุ ด ๑๕๐,๐๐๐ บาร เรลต อวั น เอ็ กซอนโมบิ ลแคนาดา พร็ อพเพอร ตี ส เป นบริ ษั ท ผู ดำเนิ นการโครงการมู ลค า ๑๔,๐๐๐ ล านเหรี ยญสหรั ฐนี้ โดยมี ส วนร วมในการลงทุ นร อยละ ๓๖ ผู ร วมทุ นได แก เชฟรอน แคนาดา จำกั ด (ร อยละ ๒๖.๗) ซั นคอร เอเนอร จี อิ งค (ร อยละ ๒๒.๗) สแตทออยล แคนาดา (ร อยละ ๙.๗) และ นาลคอร เอเนอร จี ออยล แอนด ก าซ (ร อยละ ๔.๗) “เฮบรอนเป นหนึ่ งในโครงการพั ฒนาแหล งน้ ำมั น ขนาดใหญ หลายโครงการที่ เอ็ กซอนโมบิ ลจะดำเนิ นการ ผลิ ตตลอดห าป ข างหน า” นี ล ดั บบลิ ว. ดั ฟฟ น ประธาน บริ ษั ทเอ็ กซอนโมบิ ล ดี เวลล็ อปเมนท กล าว “บริ ษั ทจะ นำความเชี่ ยวชาญในการพั ฒนาและดำเนิ นงานโครงการ ในแถบขั้ วโลกเหนื อ มาใช พั ฒนาแหล งทรั พยากรระดั บ โลกนี้ ซึ่ งมี สภาพการปฏิ บั ติ งานที่ เต็ มไปด วยความ ท าทาย”

Powered by