Quarter 3/2016

กรองผ านความเป นไปได ที่ หลายหลาก ตลอดเวลา ๑๐ ป ที่ ผ านมา เอ็ กซอนโมบิ ล ร วมกั บ พั นธมิ ตรที่ ดี อย าง จอร เจี ย เทค ต อยอดจากพื้ นฐาน ความสำเร็ จที่ ผ านการพิ สู จน แล วเพื่ อให บรรลุ ความ ก าวหน าที่ สำคั ญทางวิ ทยาศาตร โดยการนำระบบรี เวิ ร ส ออสโมซิ สมา มาใช ประโยชน ให หลากหลายขึ้ น “ในอดี ตตั้ งแต ช วง คศ. ๑๙๖๐ – ๑๙๖๙ เราใช วิ ธี การรี เวิ ร ส ออสโมซิ สโดยเอาน้ ำทะเลผ านแผ นเยื่ อ สั งเคราะห ในการแยกเกลื อออกและทำให น้ ำมี ความ บริ สุ ทธ ” ไลฟ ลี กล าว “แผ นเยื่ อสั งเคราะห จะทำหน าที่ เป นตั วแยกโมเลกุ ลของน้ ำบริ สุ ทธิ์ ออกจากโมเลกุ ล ที่ เกาะอยู กั บเกลื อหรื อสิ่ งปนเป อนต างๆ” ทุ กวั นนี้ ร อยละ ๖๐ ของน้ ำทั่ วโลกผ านการกรอง เพื่ อแยกเกลื อออกเป นน้ ำจื ดโดยใช แผ นเยื่ อซึ่ งผ านการ พิ สู จน แล วว าช วยประหยั ดพลั งงานกว าการกลั่ นด วย ความร อนถึ ง ๑๐ เท า แม็ คคู ลกล าวว า “ไรอั นและผมต องการทดลองดู ว า เราจะสามารถนำกระบวนการเดี ยวกั นนี้ มาใช ในการ แยกโมเลกุ ลไฮโดรคาร บอนที่ ซั บซ อนอย างที่ ใช ใน กระบวนการผลิ ตพลาสติ กได หรื อไม ด วยคำถามง ายๆ ว า ระบบรี เวิ ร ส ออสโมซิ สสามารถนำมาใช เพื่ อลดการ ใช พลั งงานอย างมหาศาลที่ ในโรงงานป โตรเคมี ได ไหม?”

แนวทางใหม นี้ ใช ตั วกรองที่ ระดั บโมเลกุ ลแยก โมเลกุ ลขนาดเดี ยวกั นโดยโมเลกุ ลที่ จำเป นต องใช ในการ ผลิ ตพลาสติ กจะผ านไปได ส วนโมเลกุ ลที่ ไม ต องการ จะถู กนำกลั บไปในกระบวนการผลิ ต กระบวนการแยก โมเลกุ ล เป นขั้ นตอนที่ สำคั ญยิ่ งในการผลิ ตพลาสติ ก ซึ่ งป จจุ บั นต องอาศั ยพลั งงานปริ มาณมาก อย างไรก็ ตาม เนื่ องจากการกรองตั วทำละลาย อิ นทรี ย แบบรี เวิ ร สออสโมซิ สทำงานที่ อุ ณหภู มิ ห อง วั นหนึ่ งจึ งอาจมาแทนที่ เทคโนโลยี การแยกในป จจุ บั น ที่ ต องใช ความร อนในปริ มาณมาก เป นทางเลื อกที่ จะ ช วยอนุ รั กษ พลั งงานได มากยิ่ งขึ้ น และมี ศั กยภาพ ที่ จะช วยลดปริ มาณพลั งงานที่ ใช ในกระบวนการผลิ ต พลาสติ กได อย างมหาศาล ความต องการใช สิ่ งต างๆ อย างชิ้ นส วนรถยนต วั สดุ ในครั วเรื อน ผลิ ตภั ณฑ อิ เล็ กทรอนิ กส และผลิ ตภั ณฑ อื่ นๆ ที่ ทำจากพลาสติ กและป โตรเคมี จะยั งคงเติ บโต ต อไปเป นแรงจู งใจให อุ ตสาหกรรมปรั บปรุ งประสิ ทธิ ภาพ การผลิ ต ลดการใช พลั งงานและการปล อยคาร บอนได- ออกไซด ซึ่ งจะช วยตอบสนองความต องการของตลาด ได อย างมี ความรั บผิ ดชอบ

แบบจำลองการทำงานของเยื่ อเมมเบรนคาร บอนสั งเคราะห ในการแยกโมเลกุ ลโครงสร างพาราไซลี น (ก อนการบี บอั ด)

[กด]

เยื่ อเมมเบรนคาร บอนสั งเคราะห

ส วนผสมไฮโดรคาร บอน

โมเลกุ ลโครงสร างพาราไซลี น

Powered by