Quarter 3/2016

‘ลั ดดา โชควาณิ ชย พงษ ’ วิ ศวกรไฟฟ าหญิ งไทยผู นำที มออกแบบระบบสื่ อสาร โครงการปล อยจรวดนำในโครงการจู โน

๒๕๑๗ หลั งจากเรี ยนจบ ก็ ไปตั้ งหลั กป กฐานหางานทำ ที่ มลรั ฐแคลิ ฟอร เนี ย ทำงานทางด านการออกแบบ อุ ปกรณ อิ เล็ กทรอนิ กส ที่ ใช ในเครื่ องบิ นอยู กว า ๑๐ ป ก อนจะได เข าร วมงานกั บ JPL เมื่ อป ๒๕๓๒ มาจนถึ ง ป จจุ บั น นั บเป นที มงานผู ร วมบุ กเบิ กพั ฒนา network design ของระบบสื่ อสารข ามจั กรวาลมาแล วหลายต อ หลายโครงการ คุ ณลั ดดาเป ดเผยว า ขณะนี้ เธอกำลั งพั ฒนา โครงสร างพื้ นฐานของระบบสื่ อสารของยานอวกาศ ตั วใหม ที่ มี ชื่ อว า Europa ซึ่ งจะมี ภารกิ จหลั กไปสำรวจ ดวงจั นทร ดวงใหญ ดวงหนึ่ งของดาวพฤหั สบดี ที่ มี ชื่ อ เดี ยวกั น คื อ Europa โดยยานลำนั้ น จะขึ้ นสู ห วงอวกาศ ในป ๒๕๖๓ หลั งจากที่ จู โน เสร็ จสิ้ นภาระกิ จในต นป ๒๕๖๑ “ยู โรปา มี ขนาดใกล เคี ยงกั บโลกเรา และมี ลั กษณะ ทางกายภาพที่ ใกล เคี ยงกั บโลกมาก เป นความหวั งของ มนุ ษยชาติ ที่ พยายามหาคำตอบว า มี สิ่ งมี ชี วิ ตที่ ดาวอื่ น นอกเหนื อจากโลกของเราหรื อไม ” คุ ณลั ดดากล าว เป ดเผยถึ งงานในหน าที่ อั นสำคั ญยิ่ ง คุ ณลั ดดากล าวในที่ สุ ดว า จากข อมู ลและภาพ ที่ เคยได จากยานกาลิ เลโอ นั กวิ ทยาศาสตร สั นนิ ษฐานว า มี มหาสมุ ทรขนาดมหึ มาอยู ใต ผิ วน้ ำแข็ งของ Europa และหากที่ ใดมี น้ ำ ที่ นั่ นย อมเป นไปได ที่ จะมี สิ่ งมี ชี วิ ตอยู โลกของเราก็ จะไม เป นเพี ยงหนึ่ งเดี ยว (unique) ในสุ ริ ย- จั กรวาลที่ มี สิ่ งมี ชี วิ ต คงไม นานเกิ นรอที่ เราชาวโลกจะได ประจั กษ ว า เรามี เพื่ อนต างดาว เราไม ได อยู อย างเดี ยวดายอี กต อไป

การบริ หารจั ดการโครงการจู โนนั้ น ประกอบขึ้ น ด วย ๓ หน วยงานหลั ก ได แก Southwest Research Institute ในเมื อง San Antonio ในมลรั ฐเท็ กซั ส Jet Propulsion Laboratory (JPL) ของมหาวิ ทยาลั ย California Institute of Technology (Caltech) ในเมื อง Pasedona มลรั ฐแคลิ ฟอร เนี ย และบริ ษั ท Lockheed Martin Corporation ทำหน าที่ พั ฒนาและจั ดสร างยาน ลำนี้ ขึ้ น นอกจากนี้ แล ว นาซ ายั งได รั บความร วมมื อ จากอี กหลายองค กรทั้ งในสหรั ฐฯ เองและในยุ โรป ในการร วมวิ เคราะห วิ จั ยข อมู ลที่ จะได รั บกลั บมาจาก ยานจู โนด วย หนึ่ งในวิ ศวกรไฟฟ าแห ง JPL ผู นำที มออกแบบ โครงสร างทั้ งหมดของระบบสื่ อสารทางไกล ที่ เรี ยกว า Wide Area Network (WAN) ที่ ใช ติ ดต อในยานอวกาศ จู โน ระหว างประกอบยานทดสอบและช วงส งจรวด ทะยานขึ้ นสู อวกาศ คื อ คุ ณลั ดดา โชควาณิ ชย พงษ หรื อ คุ ณ Ada Sann สุ ภาพสตรี จากประเทศไทยที่ ไป ตั้ งหลั กแหล งอยู ในสหรั ฐอเมริ กาเมื่ อกว า ๔๐ ป ที่ แล ว คุ ณลั ดดาได เดิ นทางไปยั ง Kenedy Space Center ภายในฐานปล อยจรวด Cape Canaveral ที่ ฟลอริ ดา เพื่ อติ ดตั้ งระบบคอมพิ วเตอร และเน็ ตเวิ ร คของ ATLO (Assembly Test and Launch Operation) เมื่ อวั นที่ ๔ สิ งหาคม ๒๕๕๔ เพี ยง ๑ วั นก อนวั นปล อยจรวด Atlas 5 ที่ นำ ยานจู โน ไปส งในห วงอวกาศ คุ ณลั ดดา เป นบั ณฑิ ตสาขาวิ ศวกรรมไฟฟ า จาก จุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย แล วเดิ นทางไปเรี ยนต อ ปริ ญญาโทสาขาเดี ยวกั นที่ มหาวิ ทยาลั ยฮาวาย เมื่ อป

Powered by