หมู ปราสาทประธาน ที่ ปราสาทเป อยน อย (ด านหน า)
แผนผั งโดยรวมของปราสาทเป อยน อยประกอบ ด วยปราสาทอิ ฐบนฐานหิ นศิ ลาแลง ๓ หลั ง เป น ประธานหลั กของเทวสถาน นอกจากนี้ ยั งมี อาคาร ขนาดเล็ กที่ เรี ยกกั นทั่ วไปว าวิ หารหรื อบรรณาลั ย ๑ หลั ง อยู ที่ มุ มด านทิ ศตะวั นออกเฉี ยงใต อาคารทั้ งหมดมี กำแพงก อด วยศิ ลาแลงล อมรอบเอาไว ในกรอบรู ป สี่ เหลี่ ยมผื นผ า โดยมี ประตู ซุ มทางเข ารู ปกากบาทที่ เรี ยกกั นว า “โคปุ ระ” อยู ที่ กึ่ งกลางของกำแพง ๒ ด าน คื อ ทางทิ ศตะวั นออกและทิ ศตะวั นตก เพื่ อใช เป นทาง เข าสู ตั วปราสาท ภายนอกกำแพงศิ ลาแลงมี สระน้ ำ โบราณรู ปตั วยู ๒ สระ ล อมรอบอี กชั้ นหนึ่ ง โดยเว น ช องทางเดิ นไว ในแนวตรงกั บประตู ซุ มหน าและหลั ง นอกจากนี้ ที่ ลานด านหน า (ทิ ศตะวั นออก) นอกกำแพง และสระน้ ำ มี ฐานอาคารที่ เรี ยกว า “ชาลาเอกมุ ข” ก อด วยศิ ลาแลงเพื่ อกั้ นขอบเขตทางด านหน าอี ก ๑ ชั้ น ส วนภายนอกสุ ด ซึ่ งป จจุ บั นมี แนวถนนกั้ นเอาไว มี บาราย (สระน้ ำขนาดใหญ ) ที่ เรี ยกกั นว า “สระวงษ ” อี ก ๑ สระ
“ปราสาทเป อยน อย” เป นชื่ อเรี ยกปราสาทหิ น แห งหนึ่ งที่ ตั้ งอยู ในจั งหวั ดขอนแก น ปราสาทหลั งนี้ มี แผนผั งและองค ประกอบทางสถาป ตยกรรมที่ รั งสรรค ขึ้ นอย างงดงามและถู กต องตามกฎเกณฑ ของช างโบราณ และยั งถื อเป นปราสาทหิ นที่ มี อาณาบริ เวณกว างใหญ ที่ สุ ดในเขตภู มิ ภาคอี สานตอนบนอี กด วย ภู มิ สถานที่ ตั้ งของปราสาทเป อยน อย ปราสาทเป อยน อย ตั้ งอยู ที่ บริ เวณบ านหั วขั ว ตำบลเป อยน อย อำเภอเป อยน อย จั งหวั ดขอนแก น โดยอยู ห างจากตั วอำเภอเป อยน อยไปทางทิ ศเหนื อ ไม ถึ ง ๑ กิ โลเมตร ด านหน าของปราสาทติ ดกั บทางหลวง หมายเลข ๒๒๙๗ ซึ่ งเป นเส นทางติ ดต อระหว างอำเภอ เป อยน อยกั บอำเภอบ านไผ ปราสาทแห งนี้ บางท าน เรี ยกกั นว า “ธาตุ กู ทอง” ตามชื่ อวั ดที่ ตั้ งอยู ด านข าง อย างไรก็ ตาม ทั้ งชื่ อปราสาทเป อยน อยและธาตุ กู ทอง ล วนเป นชื่ อที่ เรี ยกกั นโดยผู คนในชั้ นหลั งทั้ งสิ้ น เนื่ องจากชื่ อที่ แท จริ งของปราสาทเขมรนั้ น ส วนใหญ จะทราบได ก็ จากจารึ กที่ มี อายุ ร วมสมั ยกั บตั วปราสาท แต เราไม พบข อความในจารึ กที่ กล าวถึ งชื่ อของปราสาท แห งนี้ แต อย างใด
Powered by FlippingBook