หน าบั นด านหลั ง บรรณาลั ย สลั กภาพ อุ มามเหศวร
ทั บหลั งสลั กภาพ นารายณ บรรทมสิ นธ ที่ ปราสาทประธาน องค กลาง
เทวสถานทิ พยวิ มานแห งทวยเทพ กลุ มปราสาทประธานที่ เป นศู นย กลางของเทวสถาน แห งนี้ ประกอบด วยปราสาทอิ ฐ ๓ หลั ง ตั้ งอยู บนฐาน ศิ ลาแลงเดี ยวกั น หั นหน าไปทางทิ ศตะวั นออก โดย ปราสาทหลั งกลางมี ขนาดใหญ กว าปราสาทบริ วารทั้ ง สองข างเล็ กน อย สำหรั บรู ปทรงของปราสาททั้ ง ๓ หลั ง มี ลั กษณะคล ายกั น คื อมี แผนผั งเป นรู ปสี่ เหลี่ ยมจั ตุ รั ส ย อมุ ม มี ประตู ทางเข าอยู ทางทิ ศตะวั นออกเพี ยงประตู เดี ยว ส วนที่ เหลื ออี ก ๓ ด านเป นประตู หลอก การก อสร างใช อิ ฐเป นวั สดุ ในส วนของผนั งอาคาร และใช หิ นทรายเป นวั สดุ สำหรั บก อสร างในตำแหน ง ที่ ต องรั บน้ ำหนั กของอาคารและบริ เวณที่ ต องการแกะ สลั กลวดลายต างๆ สภาพในป จจุ บั นของกลุ มปราสาททั้ ง ๓ หลั ง คงเหลื อเฉพาะส วนฐานและเรื อนธาตุ ที่ ทำเป นห อง สี่ เหลี่ ยมเท านั้ น สำหรั บเรื อนยอดหรื อเครื่ องบนขึ้ นไป ไม พบหลั กฐานเพี ยงพอที่ จะบู รณะขึ้ นไปได อย างแน ชั ด แต พอจะสั นนิ ษฐานได ว าคงก อเหลื่ อมเป นชั้ นๆ ซ อน ลดขึ้ นไปอย างที่ เรี ยกกั นว า “ชั้ นเชิ งบาตร” โดยมี ปราสาท จำลองประดั บที่ มุ มของเรื อนยอดและส วนบนสุ ดคงเป น ยอดรู ปดอกบั ว
จากแผนผั งที่ ได กล าวมาแล วสะท อนให เห็ นถึ ง การจำลองคติ สั ญลั กษณ ของจั กรวาลที่ ถ ายทอดผ าน งานสถาป ตยกรรมได เป นอย างดี โดยที่ กลุ มปราสาท ประธานชั้ นในสุ ดนั้ น ช างผู ออกแบบคงตั้ งใจให หมายถึ ง เขาพระสุ เมรุ ซึ่ งถื อเป นศู นย กลางหรื อแกนจั กรวาล (Cosmic Axis) อั นเป นที่ ประทั บขององค เทพเจ าสู งสุ ด ถั ดออกมาซึ่ งเป นกำแพงและสระน้ ำล อมรอบนั้ น น าจะมี ความหมายถึ งกำแพงจั กรวาล หรื อทิ วเขาบริ วาร และห วงมหาสมุ ทรอั นกว างใหญ ที่ ล อมรอบเขาพระสุ เมรุ เอาไว ตามคติ ทางศาสนาที่ นั บถื อกั นอยู ในครั้ งนั้ น กรณี นี้ อาจสั งเกตเพิ่ มเติ มได จากการเตรี ยมพื้ นที่ ของ สิ่ งก อสร างให มี ระดั บความสู งต างกั น ไล ระดั บจาก ภายนอกเข าสู ภายใน โดยปราสาทประธานนั้ นอยู สู ง กว าสิ่ งก อสร างอื่ นๆ การออกแบบสถาป ตยกรรมเช นนี้ ส อให เห็ นถึ งแนวความคิ ดเกี่ ยวกั บการสร างศาสนสถาน ในลั กษณะของภู เขาอั นเป นที่ สถิ ตย ของเทพเจ าหรื อ ที่ เรี ยกกั นว า “ศาสนบรรพต” อย างแท จริ ง ด วยเหตุ นี้ ปราสาทเป อยน อย จึ งเป นเสมื อนวิ มานซึ่ งเทพเจ าสู งสุ ด ได ลงมาสถิ ตอยู ตามความหมายของการจำลองจั กรวาล นั่ นเอง
Powered by FlippingBook