Quarter 3/2016

บรรณาลั ย ของปราสาท เป อยน อย

ปราสาทประธาน เป นปราสาทอิ ฐรู ป สี่ เหลี่ ยมจั ตุ รั สย อมุ ม ขนาดกว างยาวประมาณ ๗.๕ x ๗.๕ เมตร บริ เวณที่ กรอบประตู ด านหน า (ทิ ศตะวั นออก) ได พบจารึ กอั กษรขอมโบราณภาษา สั นสกฤตสลั กอยู ๔ บรรทั ด เนื้ อความกล าวถึ งชื่ อของ มุ นี สุ วั นตยะ และพระฤษี ไวศั มปยะรวมไปถึ งการก อสร าง และพิ ธี บู ชายั ญ ซึ่ งผู เชี่ ยวชาญด านอั กษรโบราณ ได กำหนดอายุ โดยการเปรี ยบเที ยบตั วอั กษรไว ว าน าจะ มี อายุ ราวพุ ทธศตวรรษที่ ๑๗ ทั บหลั งเหนื อกรอบประตู ที่ อยู ด านหน าของ ปราสาทประธาน (ทิ ศตะวั นออก) นั บเป นงานประติ มา- กรรมที่ มี ความงดงามชิ้ นหนึ่ งของปราสาทแห งนี้ โดยช างฝ มื อได สลั กเป นรู ปนารายณ บรรทมอยู เหนื อ พระยาอนั นตนาคราช ซึ่ งภาพนี้ มี ชื่ อเรี ยกกั นอี กชื่ อหนึ่ ง ว า “วิ ษณุ อนั นตศายิ น” องค พระนารายณ มี ๔ กร โดยพระองค ยกพระกรขวาบนขึ้ นยั นพระเศี ยร ส วน พระกรที่ เหลื อทรงถื อศาสตราวุ ธสำคั ญได แก คทา สั งข ก อนดิ น (ภู ) หรื อ จั กร ไว ในพระหั ตถ และมี พระนางลั กษมี (ชายา) นั่ งประคองพระชงฆ ของพระองค เอาไว นอกจากนี้ ที่ บริ เวณพระนาภี ของพระนารายณ มี ดอกบั วผุ ดขึ้ นมาโดยบนดอกบั วมี พระพรหม ๔ กร ประทั บนั่ งอยู คติ การสร างรู ปเช นนี้ แสดงถึ งความเชื่ อ ของศาสนาฮิ นดู เมื่ อครั้ งสิ้ นสุ ดกั ลป หลั งจากโลกถู ก ทำลายลงแล ว พระนารายณ จะทรงเข าบรรทมใน เกษี ยรสมุ ทร เพื่ อให กำเนิ ดพระพรหมซึ่ งจะได ทรงสร าง โลก และสรรพสิ่ งต างๆ ขึ้ นใหม อี กครั้ งหนึ่ ง หน าบั นทางด านหน าเหนื อทั บหลั บรู ปนารายณ บรรทมสิ นธุ มี สภาพชำรุ ดตรงส วนกลาง แต พอสั งเกต ได ว าสลั กเป นภาพหน ากาลหรื อกี รติ มุ ขที่ มี รู ปสิ งห นั่ งอยู ทางด านข างลายหน ากาล ทำเป นรู ปหน าสั ตว ในเทพนิ ยายที่ มี กำเนิ ดจากพระอิ ศวร แต มี เฉพาะ ใบหน าเนื่ องจากได กลื นกิ นตั วของตนเองเข าไปและ ที่ เรี ยกกั นว าหน ากาลก็ หมายถึ งเวลา เพราะเวลาเป น ผู กลื นกิ นทุ กสิ่ งทุ กอย าง กี รติ มุ ขหรื อหน ากาลนั้ นถื อว า เป นผู เฝ าเทวาลั ยและคอยกลื นกิ นความชั่ วไม ให เข าไป สู ภายในศาสนสถาน สำหรั บหน าบั นด านหลั งของ ปราสาทประธานสลั กเป นภาพเทพนั่ งชั นเข าอยู ใน ซุ มเรื อนแก วเหนื อหน ากาลซึ่ งกำลั งคายลายพรรณ พฤกษาที่ มี ปลายม วนเข าด านในทั้ งสองข าง

บรรณาลั ย: หอเก็ บคั มภี ร ของศาสนสถาน บริ เวณมุ มด านทิ ศตะวั นออกเฉี ยงใต ของกลุ ม ปราสาทประธาน มี อาคารรู ปสี่ เหลี่ ยมผื นผ า ๑ หลั ง ก อด วยศิ ลาแลงมี ขนาดกว าง ๕ เมตร ยาว ๑๑ เมตร ลั กษณะของอาคารเป นห องสี่ เหลี่ ยมมี ประตู ทางเข า อยู ด านทิ ศตะวั นตก (หั นเข าหากลุ มปราสาทประธาน) ด านหน าทำเป นมุ ขยื่ นออกมา ๑ ห อง ส วนผนั งด านข าง ตอนบนของอาคารทำเป นช องระบายอากาศหรื อ หน าต างที่ มี ลู กกรงศิ ลาประดั บอยู ผนั งละ ๓ ช อง อาคารลั กษณะเช นนี้ พบอยู เสมอในศาสนสถานของเขมร และเรี ยกกั นทั่ วไปว าบรรณาลั ย (หอเก็ บคั มภี ร ) หรื อวิ หาร สิ่ งที่ ควรชมของบรรณาลั ยหลั งนี้ ก็ คื อ ทั บหลั ง รู ปครุ ฑนั่ งชั นเข า กางป กแต ไม มี แขนอยู เหนื อหน ากาล ซึ่ งติ ดตั้ งอยู เหนื อกรอบประตู ทางเข า (ทิ ศตะวั นตก) และทั บหลั งรู ปหงส ๒ ตั ว ที่ กางป กชู คอเข าหากั น เหนื อกรอบประตู ชั้ นในของบรรณาลั ย ส วนทั บหลั ง ด านหลั งของบรรณาลั ย (ทิ ศตะวั นออก) แกะสลั กเป น รู ปเทพนั่ งชั นเข าถื อพระขรรค อยู ในซุ มเรื อนแก วเหนื อ หน ากาล ทั บหลั งชิ้ นนี้ มี ลายแกะสลั กที่ คมชั ด และถื อ เป นทั บหลั งที่ มี ความงดงามโดดเด นชิ้ นหนึ่ งของ ปราสาทเป อยน อย หน าบั นด านหลั งของบรรณาลั ย ก็ ถื อเป นงาน ศิ ลปกรรมที่ มี ความงามสมบู รณ ทั้ งในด านความเชื่ อ และฝ มื อการแกะสลั ก โดยช างได สลั กเป นรู ปของ พระอิ ศวรและพระนางอุ มา (ชายา) ประทั บนั่ งอยู บน หลั งโคนนทิ ภาพเช นนี้ เรี ยกกั นว า “อุ มามเหศวร”

Powered by