บรรณาลั ย ของปราสาท เป อยน อย
ปราสาทประธาน เป นปราสาทอิ ฐรู ป สี่ เหลี่ ยมจั ตุ รั สย อมุ ม ขนาดกว างยาวประมาณ ๗.๕ x ๗.๕ เมตร บริ เวณที่ กรอบประตู ด านหน า (ทิ ศตะวั นออก) ได พบจารึ กอั กษรขอมโบราณภาษา สั นสกฤตสลั กอยู ๔ บรรทั ด เนื้ อความกล าวถึ งชื่ อของ มุ นี สุ วั นตยะ และพระฤษี ไวศั มปยะรวมไปถึ งการก อสร าง และพิ ธี บู ชายั ญ ซึ่ งผู เชี่ ยวชาญด านอั กษรโบราณ ได กำหนดอายุ โดยการเปรี ยบเที ยบตั วอั กษรไว ว าน าจะ มี อายุ ราวพุ ทธศตวรรษที่ ๑๗ ทั บหลั งเหนื อกรอบประตู ที่ อยู ด านหน าของ ปราสาทประธาน (ทิ ศตะวั นออก) นั บเป นงานประติ มา- กรรมที่ มี ความงดงามชิ้ นหนึ่ งของปราสาทแห งนี้ โดยช างฝ มื อได สลั กเป นรู ปนารายณ บรรทมอยู เหนื อ พระยาอนั นตนาคราช ซึ่ งภาพนี้ มี ชื่ อเรี ยกกั นอี กชื่ อหนึ่ ง ว า “วิ ษณุ อนั นตศายิ น” องค พระนารายณ มี ๔ กร โดยพระองค ยกพระกรขวาบนขึ้ นยั นพระเศี ยร ส วน พระกรที่ เหลื อทรงถื อศาสตราวุ ธสำคั ญได แก คทา สั งข ก อนดิ น (ภู ) หรื อ จั กร ไว ในพระหั ตถ และมี พระนางลั กษมี (ชายา) นั่ งประคองพระชงฆ ของพระองค เอาไว นอกจากนี้ ที่ บริ เวณพระนาภี ของพระนารายณ มี ดอกบั วผุ ดขึ้ นมาโดยบนดอกบั วมี พระพรหม ๔ กร ประทั บนั่ งอยู คติ การสร างรู ปเช นนี้ แสดงถึ งความเชื่ อ ของศาสนาฮิ นดู เมื่ อครั้ งสิ้ นสุ ดกั ลป หลั งจากโลกถู ก ทำลายลงแล ว พระนารายณ จะทรงเข าบรรทมใน เกษี ยรสมุ ทร เพื่ อให กำเนิ ดพระพรหมซึ่ งจะได ทรงสร าง โลก และสรรพสิ่ งต างๆ ขึ้ นใหม อี กครั้ งหนึ่ ง หน าบั นทางด านหน าเหนื อทั บหลั บรู ปนารายณ บรรทมสิ นธุ มี สภาพชำรุ ดตรงส วนกลาง แต พอสั งเกต ได ว าสลั กเป นภาพหน ากาลหรื อกี รติ มุ ขที่ มี รู ปสิ งห นั่ งอยู ทางด านข างลายหน ากาล ทำเป นรู ปหน าสั ตว ในเทพนิ ยายที่ มี กำเนิ ดจากพระอิ ศวร แต มี เฉพาะ ใบหน าเนื่ องจากได กลื นกิ นตั วของตนเองเข าไปและ ที่ เรี ยกกั นว าหน ากาลก็ หมายถึ งเวลา เพราะเวลาเป น ผู กลื นกิ นทุ กสิ่ งทุ กอย าง กี รติ มุ ขหรื อหน ากาลนั้ นถื อว า เป นผู เฝ าเทวาลั ยและคอยกลื นกิ นความชั่ วไม ให เข าไป สู ภายในศาสนสถาน สำหรั บหน าบั นด านหลั งของ ปราสาทประธานสลั กเป นภาพเทพนั่ งชั นเข าอยู ใน ซุ มเรื อนแก วเหนื อหน ากาลซึ่ งกำลั งคายลายพรรณ พฤกษาที่ มี ปลายม วนเข าด านในทั้ งสองข าง
บรรณาลั ย: หอเก็ บคั มภี ร ของศาสนสถาน บริ เวณมุ มด านทิ ศตะวั นออกเฉี ยงใต ของกลุ ม ปราสาทประธาน มี อาคารรู ปสี่ เหลี่ ยมผื นผ า ๑ หลั ง ก อด วยศิ ลาแลงมี ขนาดกว าง ๕ เมตร ยาว ๑๑ เมตร ลั กษณะของอาคารเป นห องสี่ เหลี่ ยมมี ประตู ทางเข า อยู ด านทิ ศตะวั นตก (หั นเข าหากลุ มปราสาทประธาน) ด านหน าทำเป นมุ ขยื่ นออกมา ๑ ห อง ส วนผนั งด านข าง ตอนบนของอาคารทำเป นช องระบายอากาศหรื อ หน าต างที่ มี ลู กกรงศิ ลาประดั บอยู ผนั งละ ๓ ช อง อาคารลั กษณะเช นนี้ พบอยู เสมอในศาสนสถานของเขมร และเรี ยกกั นทั่ วไปว าบรรณาลั ย (หอเก็ บคั มภี ร ) หรื อวิ หาร สิ่ งที่ ควรชมของบรรณาลั ยหลั งนี้ ก็ คื อ ทั บหลั ง รู ปครุ ฑนั่ งชั นเข า กางป กแต ไม มี แขนอยู เหนื อหน ากาล ซึ่ งติ ดตั้ งอยู เหนื อกรอบประตู ทางเข า (ทิ ศตะวั นตก) และทั บหลั งรู ปหงส ๒ ตั ว ที่ กางป กชู คอเข าหากั น เหนื อกรอบประตู ชั้ นในของบรรณาลั ย ส วนทั บหลั ง ด านหลั งของบรรณาลั ย (ทิ ศตะวั นออก) แกะสลั กเป น รู ปเทพนั่ งชั นเข าถื อพระขรรค อยู ในซุ มเรื อนแก วเหนื อ หน ากาล ทั บหลั งชิ้ นนี้ มี ลายแกะสลั กที่ คมชั ด และถื อ เป นทั บหลั งที่ มี ความงดงามโดดเด นชิ้ นหนึ่ งของ ปราสาทเป อยน อย หน าบั นด านหลั งของบรรณาลั ย ก็ ถื อเป นงาน ศิ ลปกรรมที่ มี ความงามสมบู รณ ทั้ งในด านความเชื่ อ และฝ มื อการแกะสลั ก โดยช างได สลั กเป นรู ปของ พระอิ ศวรและพระนางอุ มา (ชายา) ประทั บนั่ งอยู บน หลั งโคนนทิ ภาพเช นนี้ เรี ยกกั นว า “อุ มามเหศวร”
Powered by FlippingBook