Quarter 3/2016

แบบคลั ง ในขณะเดี ยวกั นรู ปครุ ฑที่ มี ป กแต ไม มี แขนนั้ น จั ดเป นศิ ลปะแบบบาปวนอย างแท จริ ง สำหรั บอิ ทธิ พล ของศิ ลปะแบบนครวั ด อาจดู ได จากเครื่ องทรงของ พระนารายณ หรื อลวดลายขื่ อปลอมใต หน าบั นที่ โคปุ ระ การผสมผสานศิ ลปะเหล านี้ ปรากฏอยู ในหลายๆ ตำแหน งของตั วปราสาท ด วยเหตุ ผลดั งที่ กล าวมาแล ว เมื่ อพิ จารณาประกอบ กั บการกำหนดอายุ โดยการเปรี ยบเที ยบตั วอั กษรและ รู ปทรงสถาป ตยกรรมที่ ปรากฎ อาจสามารถกำหนด อายุ โบราณสถานแห งนี้ ได ว า คงก อสร างขึ้ นราวพุ ทธ ศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ ในศิ ลปะเขมรแบบ บาปวน-นครวั ด และสร างขึ้ นเพื่ อใช เป นเทวสถานเนื่ องในศาสนาฮิ นดู อั นเป นศาสนาที่ นั บถื อกั นในเขมรในช วงระยะเวลานั้ น

เป นการแสดงให เห็ นถึ งคติ การนั บถื อพระอิ ศวร ซึ่ งเป น เทพผู ยิ่ งใหญ องค หนึ่ งของศาสนาฮิ นดู ได เป นอย างดี ในการขุ ดแต งบรรณาลั ย เมื่ อป พ.ศ. ๒๕๓๓ ได ค นพบแท งหิ นรู ปสี่ เหลี่ ยมผื นผ าสลั กภาพเทพ ๙ องค ชิ้ นหนึ่ ง (แต แท งหิ นที่ พบนี้ มี ภาพเทพ ๑ องค ชำรุ ดหั ก หายไป) จากการศึ กษาเปรี ยบเที ยบพบว า ภาพเทพ ดั งกล าวเป นรู ปเทพพระเคราะห ๔ องค และเทพผู รั กษา ทิ ศ ๕ องค อยู ตรงกลาง สำหรั บหน าที่ ของแท งหิ นรู ป เทพนี้ คงมิ ใช เป นแผ นทั บหลั ง เนื่ องจากบริ เวณขอบ ด านบนได สลั กเป นรู ปดอกบั ว สั นนิ ษฐานว าอาจใช ประโยชน สำหรั บการแก บน หรื อการสั กการะบู ชาเทพ ต างๆ ก อนการประกอบพิ ธี กรรมที่ สำคั ญ แท งหิ น ดั งกล าวป จจุ บั นเก็ บรั กษาไว ที่ วั ดธาตุ กู ทอง ที่ ตั้ งอยู ทาง ด านข างของปราสาทเป อยน อย รู ปแบบศิ ลปะและอายุ สมั ย จากการพิ จารณารู ปแบบศิ ลปะที่ ปรากฏในปราสาท เป อยน อยโดยรวมแล ว พบว าเป นการผสมผสานกั น ระหว างศิ ลปะเขมรแบบคลั ง Khleang (พ.ศ.๑๕๐๕- ๑๕๕๐) ศิ ลปะบาปวน Baphuon (พ.ศ.๑๕๕๐-๑๖๒๐) และก็ มี ร องรอยของงานศิ ลปะแบบนครวั ด Ankor Wat (พ.ศ.๑๖๔๐-๑๗๑๕) ผสมอยู ด วย ดั งเช นตั วอย างจาก แผ นทั บหลั งรู ปครุ ฑนั่ งด านหน าบรรณาลั ย ซึ่ งทั บหลั ง แผ นนี้ แม แสดงภาพหน ากาลตรงกลางกำลั งคายท อน พวงมาลั ยออกมาทั้ งสองข างแต ก็ มี ลายอุ บะมาแบ งอยู ที่ เสี้ ยวของท อนพวงมาลั ย อั นแสดงให เห็ นถึ งศิ ลปะ

อ างอิ ง ๑. ศาสตราจารย หม อมเจ า สุ ภั ทรดิ ศ ดิ ศกุ ล, ศิ ลปะขอม , กรุ งเทพ : โรงพิ มพ คุ รุ สภาลาดพร าว, ๒๕๓๙ ๒. ศาสตราจารย หม อมเจ า สุ ภั ทรดิ ศ ดิ ศกุ ล, “ของดี ในจั งหวั ดขอนแก น” ศิ ลปวั ฒนธรรม ป ที่ ๑๘ ฉบั บที่ ๑๒ ตุ ลาคม ๒๕๔๐, หน า ๗๐-๗๕ ๓. รุ งโรจน ธรรมรุ งเรื อง, ปราสาทขอมในดิ นแดนไทย , กรุ งเทพ : สำนั กพิ มพ มติ ชน, ๒๕๔๘ ๔. สำนั กงานโบราณคดี และพิ พิ ธภั ณฑสถานแห งชาติ ที่ ๗ ขอนแก น, สมบั ติ ศิ ลป บนแผ นดิ นอี สาน , ขอนแก น : หจก.ขอนแก นการพิ มพ , ๒๕๔๐ ๕. อรุ ณศั กดิ์ กิ่ งมณี , ทิ พยนิ ยายจากปราสาทหิ น , กรุ งเทพ : สำนั กพิ มพ เมื องโบราณ, ๒๕๕๕

Powered by