กุ ลี ขนกล วยของ United Fruit Company ท าเรื อในคอสตาริ กา
คำว า ‘กล วย’ น าจะกร อนมาจากภาษาอิ นเดี ย และอาหรั บที่ เรี ยกขนมที่ ทำจากกล วยว า ‘เกลา’ และ ‘กะลา’ คำว า Banana บ างก็ ว ามาจากภาษา Wolof ของแอฟริ กั นตะวั นตก ซึ่ งพู ดกั นในประเทศเซเนกั ล แกมเบี ย และมอริ ตาเนี ย ชาวโปรตุ เกสยื มไปใช คนอั งกฤษก็ เรี ยกตาม บางทฤษฎี ก็ ว ามาจากภาษาอาหรั บ ‘banan’ แปลว านิ้ ว เพราะกล วยที่ พ อค านำไปขายเป น กล วยหอมลู กเล็ กเรี ยวคล ายนิ้ วมื อ ยาวแค สองสามนิ้ ว ส วนชื่ อทางวิ ทยาศาสตร คื อ musa ก็ เป นภาษาอาหรั บ เช นกั น แปลว า กล วย เรื่ องโศกของกล วย เมื่ อป ค.ศ.๑๘๗๑ นาย Minor Kieth ผู รั บเหมาสร างทางรถไฟในคอสตาริ กา คิ ดปลู ก กล วยสองข างริ มทางรถไฟเพื่ อเลี้ ยงคนงานราวสี่ พั นคน แต พองานจบ รั ฐบาลกลั บถั งแตกไม มี เงิ นจ าย จึ งขน กล วยขึ้ นรถไฟไปลงปลายทางเมื องท า Limon ส งมาขาย ต อที่ อเมริ กาจนร่ ำรวย ต อมาก็ ชั กชวนบริ ษั ทขายผลไม ยั กษ ใหญ ของอเมริ กามาร วมทุ น กว านซื้ อและเช าที่ ดิ น ในคอสตาริ กาด วยราคาแสนถู กเพื่ อทำธุ รกิ จไร กล วย
ป ค.ศ.๑๘๗๐ กั ปตั นเรื อโปรตุ เกสนาม Lorenzo Dow Baker เป นคนเหมากล วยจากจาไมก า นำไปขาย ณ เมื องบอสตั นของอเมริ กา ฟ นกำไรเหนาะๆ ถึ งพั นเท า ก อนหน านั้ นกล วยเป นของแพง มี ขายเฉพาะในเมื องท า ใหญ พ อค าจะห อด วยกระดาษดี บุ ก ขายปลี กที ละใบ มากิ นกั นแพร หลายในป ค.ศ.๑๘๘๐ หลั งเลิ กสงคราม กลางเมื อง ส วนชาวยุ โรปกว าจะรู จั กกล วยก็ ล วงเข า ปลายยุ ควิ คตอเรี ยนแล ว มี การพรรณนาถึ งกล วยอย าง ละเอี ยดลออเป นครั้ งแรกป ค.ศ.๑๘๗๒ ในหนั งสื อชื่ อ ‘แปดสิ บวั นรอบโลก’ (Around the World in Eighty Days) โดย Jules Verne นั กเขี ยนนิ ยายผจญภั ยและ กวี มี ชื่ อชาวฝรั่ งเศส
Powered by FlippingBook