พระพุ ทธบาทไม : หนึ่ งในมณี ล้ ำค าของสยามประเทศ รอยพระพุ ทธบาทไม ของวั ดพระรู ป ตามประวั ติ กล าวกั นว า ลอยน้ ำมาตามแม น้ ำท าจี น (แม น้ ำสุ พรรณบุ รี ) พร อมกั บพระพุ ทธรู ป องค หนึ่ ง เมื่ อราว ป พ.ศ.๒๔๕๕ เจ าอาวาสวั ดและชาวบ านได ช วย กั นนำขึ้ นมาและสร างมณฑปประดิ ษฐานเอาไว ที่ บริ เวณด านหน า ของวั ด รอยพระบาทชิ้ นนี้ มี ขนาดกว าง ๗๕ เซนติ เมตร ยาว ๒๒๐ เซนติ เมตร เป นพระบาทที่ อยู ในลั กษณะตั้ งตะแคงขึ้ น ตรงกลาง เป นลายมงคล ๑๐๘ ด านข างที่ มุ มทั้ งสี่ แกะเป นรู ปจตุ โลกบาลเฝ า รั กษาอยู ส วนด านหลั งของแผ นไม เป นเหตุ การณ ในพุ ทธประวั ติ ตอน มารผจญ หรื อ มารวิ ชั ย (มี ชั ยชนะเหนื อมาร) ตรงกลางทำเป น แท นรั ตนบั ลลั งก ซึ่ งอนุ มานได ว า เป นที่ ประทั บของพระพุ ทธองค และมี แม พระธรณี บี บมวยผมอยู ใต บั ลลั งก ด านข างด านหนึ่ งทำเป น รู ปกองทั พพญามาร (วั สวดี มาร) พร อมพลมารทำท าเข าข มขู ส วนอี กด านหนึ่ งเป นรู ปกองทั พมารทำท ายอมแพ ต อบารมี ของ พระพุ ทธองค เมื่ อพิ จารณาจากลายสลั กของรอยพระพุ ทธบาท กำหนดอายุ ได ว าเป นงานสมั ยอยุ ธยา ราวปลายพุ ทธศตวรรษที่ ๒๐ คติ ดั้ งเดิ มของการสร างรอยพระบาท เป นความเชื่ อพื้ นฐาน ของพุ ทธศาสนิ กชนว า พระพุ ทธองค ได เคยเสด็ จไปทุ กหนแห งในโลก เพื่ อประกาศพุ ทธศาสนาและสั่ งสอนเวไนยสั ตว และได ทรงทิ้ งรอย พระบาทเพื่ อประกาศความยั่ งยื นของศาสนาเอาไว นอกจากนี้ ยั งถื อเป นแนวคิ ดในการสร างสั ญลั กษณ แทนองค พระพุ ทธเจ าใน ๒ ลั กษณะ ได แก ๑. เป นบริ โภคเจดี ย โดยสมมุ ติ อั นหมายถึ งสถานที่ ที่ พระ พุ ทธองค เคยประทั บหรื อวั ตถุ ที่ พระองค เคยใช สอยสั มผั สมาแล ว ๒. เป นอุ เทสิ กเจดี ย ที่ หมายถึ ง สิ่ งที่ สร างขึ้ นเพื่ อเป น สั ญลั กษณ ทำให ระลึ กถึ งพระพุ ทธองค น. ณ ปากน้ ำ ศิ ลป นแห งชาติ ซึ่ งถื อเป นปู ชนี ยบุ คคลด าน ศิ ลปะคนหนึ่ ง เคยยกย องรอยพระพุ ทธบาทชิ้ นนี้ ไว ว า “...ที่ วั ดพระรู ปในสุ พรรณ ยั งมี มณี อั นล้ ำค าอี กชิ้ นหนึ่ ง ซึ่ งอาจ กล าวได ว า ไม ใช สมบั ติ ส วนตั วของชาวสุ พรรณเสี ยแล ว หากควรจะ เป นสมบั ติ ของคนไทยทั้ งชาติ ซึ่ งจะต องช วยกั นหวงแหน ทะนุ ถนอม ให ดี ที่ สุ ดที่ จะดี ได สิ่ งมี ค าชิ้ นนั้ นคื อ พระพุ ทธบาทสลั กไม ตั้ งตะแคง มี ลวดลายสลั กนู นทั้ งสองด าน ศิ ลปะอั นมี ค าชิ้ นนี้ หากนำเข า พิ พิ ธภั ณฑ ก็ ควรตั้ งอยู กลางห องบนแท นวางเสมอระดั บตา และ ให มี เพี ยงชิ้ นเดี ยวในห องเท านั้ น นั กศิ ลปะหลายท าน เมื่ อได ชม พระพุ ทธบาทไม ชิ้ นนี้ ต างก็ อุ ทานว า เพี ยงได เห็ นก็ คุ มแล ว ...” สำหรั บมณฑปที่ เคยใช เป นที่ ประดิ ษฐานรอยพระพุ ทธบาทไม นั้ น อยู ด านนอกของเขตกำแพงวั ดติ ดกั บแม น้ ำท าจี น แต ป จจุ บั น มิ ได ใช ประโยชน แล ว มณฑปแห งนี้ สร างขึ้ นเมื่ อราวป พ.ศ. ๒๔๕๕- ๒๔๕๙ โดยพระแจงวิ นั ยธร (เจ าอาวาสวั ดพระรู ปในขณะนั้ น)
หน าซ ายบน : พระนอนที่ วั ดพระรู ป :
ภาพหลั งการบู รณะป ดทองใหม เมื่ อป พ.ศ. ๒๕๕๓ หน าซ ายล าง : ด านหน ารอยพระพุ ทธบาทสลั กไม ของวั ดพระรู ป
เมื่ อพิ จารณาจากลั กษณะทางศิ ลปกรรมแล ว สั นนิ ษฐานว า เป นฝ มื อช างรุ นกรุ งศรี อยุ ธยาตอนต น ราวพุ ทธศตวรรษที่ ๒๐ และถื อเป นพระนอนที่ มี ความงดงามที่ สุ ดองค หนึ่ งในสมั ยอยุ ธยา ด วยความที่ มี สั ดส วนลงตั ว และมี อิ ริ ยาบถที่ ผ อนคลายและงดงาม อย างเป นธรรมชาติ เดิ มมี การลงรั กป ดทอง แต สภาพของรั กและ ทองชำรุ ดอย างมาก ต อมาในป พ.ศ.๒๕๕๓ สำนั กศิ ลปากรที่ ๒ สุ พรรณบุ รี จึ งดำเนิ นการลงรั กป ดทององค พระนอนให มี ความสวย งามดั งเดิ ม พระนอนองค นี้ ชาวบ านเรี ยกกั นว า พระนอนเณรแก ว โดยมี เรื่ องเล าที่ นำเค าเรื่ องมาจากวรรณคดี ขุ นช าง-ขุ นแผน ว า เมื่ อครั้ ง ที่ ขุ นแผนยั งเป นเด็ ก ได บวชเป นสามเณรอยู ที่ วั ดป าเลไลย มี นามว า เณรแก ว ครั้ งหนึ่ งเจ าอาวาสวั ดป าเลไลย ได ให เณรแก วไปตั กน้ ำ ที่ ท าน้ ำวั ดพระรู ปเพื่ อนำน้ ำไปต มชา แต เณรแก วเหนื่ อยจึ งแอบมา นอนพั กผ อนที่ บริ เวณนี้ ต อมาได มี ผู มี จิ ตศรั ทธาสร างพระนอนขึ้ น ตรงบริ เวณนี้ ไว เป นอนุ สรณ และเรี ยกกั นว า พระนอนเณรแก ว ส วนบางท านให ความเห็ นว า ที่ เรี ยกว าพระนอนเณรแก ว เนื่ องจาก พระนอนองค นี้ มี พระพั กตร ที่ งดงามเปรี ยบเสมื อนพลายแก ว หรื อ ขุ นแผน ที่ มี หน าตาที่ งดงามยิ่ ง
Powered by FlippingBook