Quarter 4/2013

เจดี ย แปดเหลี่ ยมของวั ดพระรู ป

ธรรมาสน ไม ที่ วั ดพระรู ป

ลั กษณะขององค เจดี ย อยู ในผั งรู ปสี่ เหลี่ ยมจั ตุ รั ส โดยฐาน ชั้ นล างเป นฐานเขี ยงต อด วยชั้ นประดิ ษฐานพระพุ ทธรู ป หรื อชั้ น เรื อนธาตุ ซ อนกั นสองชั้ น ถั ดขึ้ นไปเป นชั้ นแปดเหลี่ ยมรองรั บทรง ระฆั งกลมต อด วยปล องไฉนที่ ส วนปลายหั กหายไปแล ว เจดี ย องค นี้ แต เดิ มคงมี การประดั บด วยลวดลายปู นป นอย าง งดงาม แต ในป จจุ บั นลวดลายส วนใหญ หลุ ดร วงไปเกื อบหมดแล ว ยั งคงเหลื อปู นป นอยู บ างเล็ กน อยบริ เวณซุ มประดิ ษฐานพระพุ ทธรู ป ชั้ นล างด านทิ ศใต และลวดลายประดั บบั วปากระฆั งทางด านทิ ศ ตะวั นออกเฉี ยงใต ลวดลายเหล านี้ ส วนใหญ เป นงานสมั ยอยุ ธยา ตอนต น ซึ่ งสามารถนำมาใช ศึ กษาเปรี ยบเที ยบเพื่ อกำหนดอายุ องค เจดี ย ตามหลั กการทางด านประวั ติ ศาสตร ศิ ลปะได เป นอย างดี เจดี ย ทรงแปดเหลี่ ยมในลั กษณะเช นนี้ พบกั นอยู จำนวนไม มาก นั ก ส วนใหญ พบอยู ในเขตภาคกลางของประเทศ โดยเป นการสื บ ทอดมาจากสายวิ วั ฒนาการของศิ ลปะทวารวดี ที่ เคยเจริ ญมาก อน หน านี้ ทางด านข างของเจดี ย แปดเหลี่ ยม ซึ่ งมี การถมพื้ นสู งขึ้ นกว า พื้ นที่ ใกล เคี ยง มี เก งจี นตั้ งอยู ๑ หลั ง จากการบอกเล าทราบว า อาคารเก งจี นสร างขึ้ นเมื่ อราว พ.ศ. ๒๔๕๐ โดยผู สร างคื อ ซุ นจุ ย แซ เฮง เป นคนจี นที่ มาจากเมื องจี นตอนใต และแต งงานกั บคนไทย ชื่ อ แสง เมื่ อมาอยู ที่ สุ พรรณบุ รี ได ประกอบอาชี พค าข าวจนร่ ำรวย จึ งสร างเก งจี นหลั งนี้ ขึ้ น อย างไรก็ ตามสภาพของเก งจี นในป จจุ บั นนี้ ค อนข างชำรุ ดพั งทลายมาก และยั งไม ได มี การบู รณะแต อย างใด

ร วมกั บชาวบ าน ใช เงิ นในการก อสร าง ๑,๔๘๑ บาท แต เดิ มมี เทศกาลไหว พระบาททุ กป (ราวต นเดื อนเมษายน) ภายหลั งยกเลิ ก ไป ต อมา ราวพ.ศ.๒๕๑๐ อาคารทรุ ดโทรมลงมาก ประกอบกั บ ทางวั ดทราบข าวว าจะมี การโจรกรรมรอยพระพุ ทธบาท จึ งย ายรอย พระพุ ทธบาทไปไว ในหอสวดมนต เพื่ อความสะดวกในการดู แล รั กษาความปลอดภั ย ลั กษณะของมณฑปเป นอาคารสี่ เหลี่ ยมจั ตุ รั ส ด านล างทำเป น ฐานกลม สามารถเดิ นเวี ยนรอบได โดยมี บั นไดทางขึ้ นอยู ทางทิ ศ ตะวั นออกและทิ ศใต ส วนล างสุ ดทำเป นลั กษณะคล ายเขามอ มี การ ประดั บด วยปู นป นและมี การฝ งไหดิ นเผาอยู ในฐานดั งกล าวด วย ตรงส วนกลางของมณฑปทำเป นห องโถงเพื่ อวางพระพุ ทธบาท ในลั กษณะตั้ งขึ้ น ส วนยอดทำเป นทรงเจดี ย ย อมุ มไม สิ บสอง กรมศิ ลปากรได บู รณะมณฑปหลั งนี้ ขึ้ นใหม เมื่ อ ป พ.ศ.๒๕๕๕ ตามรู ปแบบสถาป ตยกรรมเดิ ม เพื่ อสื บสานมรดกทางศิ ลปวั ฒน- ธรรมชิ้ นนี้ ไว เจดี ย แปดเหลี่ ยม : พุ ทธศิ ลป อั นเลอค าในสมั ยอยุ ธยาตอนต น บริ เวณด านหลั งวิ หารพระนอน เยื้ องไปทางทิ ศเหนื อ มี เจดี ย ทรงแปดเหลี่ ยมองค หนึ่ ง ก อด วยอิ ฐฉาบปู น เจดี ย องค นี้ คงสร างขึ้ น มาตั้ งแต สมั ยอยุ ธยาตอนต น ราวพุ ทธศตวรรษที่ ๑๙ และมี การ ซ อมแซมลวดลายปู นป น เมื่ อช วงครึ่ งแรกของพุ ทธศตวรรษที่ ๒๐

Powered by