Quarter 4/2013

พระพุ ทธบาทไม : หนึ่ งในมณี ล้ ำค าของสยามประเทศ รอยพระพุ ทธบาทไม ของวั ดพระรู ป ตามประวั ติ กล าวกั นว า ลอยน้ ำมาตามแม น้ ำท าจี น (แม น้ ำสุ พรรณบุ รี ) พร อมกั บพระพุ ทธรู ป องค หนึ่ ง เมื่ อราว ป พ.ศ.๒๔๕๕ เจ าอาวาสวั ดและชาวบ านได ช วย กั นนำขึ้ นมาและสร างมณฑปประดิ ษฐานเอาไว ที่ บริ เวณด านหน า ของวั ด รอยพระบาทชิ้ นนี้ มี ขนาดกว าง ๗๕ เซนติ เมตร ยาว ๒๒๐ เซนติ เมตร เป นพระบาทที่ อยู ในลั กษณะตั้ งตะแคงขึ้ น ตรงกลาง เป นลายมงคล ๑๐๘ ด านข างที่ มุ มทั้ งสี่ แกะเป นรู ปจตุ โลกบาลเฝ า รั กษาอยู ส วนด านหลั งของแผ นไม เป นเหตุ การณ ในพุ ทธประวั ติ ตอน มารผจญ หรื อ มารวิ ชั ย (มี ชั ยชนะเหนื อมาร) ตรงกลางทำเป น แท นรั ตนบั ลลั งก ซึ่ งอนุ มานได ว า เป นที่ ประทั บของพระพุ ทธองค และมี แม พระธรณี บี บมวยผมอยู ใต บั ลลั งก ด านข างด านหนึ่ งทำเป น รู ปกองทั พพญามาร (วั สวดี มาร) พร อมพลมารทำท าเข าข มขู ส วนอี กด านหนึ่ งเป นรู ปกองทั พมารทำท ายอมแพ ต อบารมี ของ พระพุ ทธองค เมื่ อพิ จารณาจากลายสลั กของรอยพระพุ ทธบาท กำหนดอายุ ได ว าเป นงานสมั ยอยุ ธยา ราวปลายพุ ทธศตวรรษที่ ๒๐ คติ ดั้ งเดิ มของการสร างรอยพระบาท เป นความเชื่ อพื้ นฐาน ของพุ ทธศาสนิ กชนว า พระพุ ทธองค ได เคยเสด็ จไปทุ กหนแห งในโลก เพื่ อประกาศพุ ทธศาสนาและสั่ งสอนเวไนยสั ตว และได ทรงทิ้ งรอย พระบาทเพื่ อประกาศความยั่ งยื นของศาสนาเอาไว นอกจากนี้ ยั งถื อเป นแนวคิ ดในการสร างสั ญลั กษณ แทนองค พระพุ ทธเจ าใน ๒ ลั กษณะ ได แก ๑. เป นบริ โภคเจดี ย โดยสมมุ ติ อั นหมายถึ งสถานที่ ที่ พระ พุ ทธองค เคยประทั บหรื อวั ตถุ ที่ พระองค เคยใช สอยสั มผั สมาแล ว ๒. เป นอุ เทสิ กเจดี ย ที่ หมายถึ ง สิ่ งที่ สร างขึ้ นเพื่ อเป น สั ญลั กษณ ทำให ระลึ กถึ งพระพุ ทธองค น. ณ ปากน้ ำ ศิ ลป นแห งชาติ ซึ่ งถื อเป นปู ชนี ยบุ คคลด าน ศิ ลปะคนหนึ่ ง เคยยกย องรอยพระพุ ทธบาทชิ้ นนี้ ไว ว า “...ที่ วั ดพระรู ปในสุ พรรณ ยั งมี มณี อั นล้ ำค าอี กชิ้ นหนึ่ ง ซึ่ งอาจ กล าวได ว า ไม ใช สมบั ติ ส วนตั วของชาวสุ พรรณเสี ยแล ว หากควรจะ เป นสมบั ติ ของคนไทยทั้ งชาติ ซึ่ งจะต องช วยกั นหวงแหน ทะนุ ถนอม ให ดี ที่ สุ ดที่ จะดี ได สิ่ งมี ค าชิ้ นนั้ นคื อ พระพุ ทธบาทสลั กไม ตั้ งตะแคง มี ลวดลายสลั กนู นทั้ งสองด าน ศิ ลปะอั นมี ค าชิ้ นนี้ หากนำเข า พิ พิ ธภั ณฑ ก็ ควรตั้ งอยู กลางห องบนแท นวางเสมอระดั บตา และ ให มี เพี ยงชิ้ นเดี ยวในห องเท านั้ น นั กศิ ลปะหลายท าน เมื่ อได ชม พระพุ ทธบาทไม ชิ้ นนี้ ต างก็ อุ ทานว า เพี ยงได เห็ นก็ คุ มแล ว ...” สำหรั บมณฑปที่ เคยใช เป นที่ ประดิ ษฐานรอยพระพุ ทธบาทไม นั้ น อยู ด านนอกของเขตกำแพงวั ดติ ดกั บแม น้ ำท าจี น แต ป จจุ บั น มิ ได ใช ประโยชน แล ว มณฑปแห งนี้ สร างขึ้ นเมื่ อราวป พ.ศ. ๒๔๕๕- ๒๔๕๙ โดยพระแจงวิ นั ยธร (เจ าอาวาสวั ดพระรู ปในขณะนั้ น)

หน าซ ายบน : พระนอนที่ วั ดพระรู ป :

ภาพหลั งการบู รณะป ดทองใหม เมื่ อป พ.ศ. ๒๕๕๓ หน าซ ายล าง : ด านหน ารอยพระพุ ทธบาทสลั กไม ของวั ดพระรู ป

เมื่ อพิ จารณาจากลั กษณะทางศิ ลปกรรมแล ว สั นนิ ษฐานว า เป นฝ มื อช างรุ นกรุ งศรี อยุ ธยาตอนต น ราวพุ ทธศตวรรษที่ ๒๐ และถื อเป นพระนอนที่ มี ความงดงามที่ สุ ดองค หนึ่ งในสมั ยอยุ ธยา ด วยความที่ มี สั ดส วนลงตั ว และมี อิ ริ ยาบถที่ ผ อนคลายและงดงาม อย างเป นธรรมชาติ เดิ มมี การลงรั กป ดทอง แต สภาพของรั กและ ทองชำรุ ดอย างมาก ต อมาในป พ.ศ.๒๕๕๓ สำนั กศิ ลปากรที่ ๒ สุ พรรณบุ รี จึ งดำเนิ นการลงรั กป ดทององค พระนอนให มี ความสวย งามดั งเดิ ม พระนอนองค นี้ ชาวบ านเรี ยกกั นว า พระนอนเณรแก ว โดยมี เรื่ องเล าที่ นำเค าเรื่ องมาจากวรรณคดี ขุ นช าง-ขุ นแผน ว า เมื่ อครั้ ง ที่ ขุ นแผนยั งเป นเด็ ก ได บวชเป นสามเณรอยู ที่ วั ดป าเลไลย มี นามว า เณรแก ว ครั้ งหนึ่ งเจ าอาวาสวั ดป าเลไลย ได ให เณรแก วไปตั กน้ ำ ที่ ท าน้ ำวั ดพระรู ปเพื่ อนำน้ ำไปต มชา แต เณรแก วเหนื่ อยจึ งแอบมา นอนพั กผ อนที่ บริ เวณนี้ ต อมาได มี ผู มี จิ ตศรั ทธาสร างพระนอนขึ้ น ตรงบริ เวณนี้ ไว เป นอนุ สรณ และเรี ยกกั นว า พระนอนเณรแก ว ส วนบางท านให ความเห็ นว า ที่ เรี ยกว าพระนอนเณรแก ว เนื่ องจาก พระนอนองค นี้ มี พระพั กตร ที่ งดงามเปรี ยบเสมื อนพลายแก ว หรื อ ขุ นแผน ที่ มี หน าตาที่ งดงามยิ่ ง

Powered by