ลั กษณะของธรรมาสน หลั งนี้ เป นแท นทรงสี่ เหลี่ ยมจั ตุ รั ส ด านล างทำเป นฐานบั ลลั งก มี ลวดลายสลั กไม ประดั บอย างงดงาม โดยเฉพาะลายกระจั งขนาดใหญ นอกจากนี้ ยั งมี ครุ ฑแบกประดั บ ตามมุ มและบริ เวณตรงกลางของฐาน ส วนกลางถั ดขึ้ นไปทำเป น ที่ นั่ งของพระสงฆ มี บั นไดทางขึ้ นทางด านหน า ด านบนสุ ดเป น ยอดทรงปราสาทย อมุ มสู งเพรี ยวขึ้ นไป ธรรมาสน หลั งนี้ แต เดิ ม ชำรุ ดมาก ทางวั ดจึ งได จ างช างชาวจี นมาซ อมครั้ งหนึ่ ง เมื่ อราวป พ.ศ. ๒๔๘๐ ทำให มี ฝ มื อช างรุ นใหม เข าไปผสมอยู ไม น อย สำหรั บ ลวดลายกระจั งและตั วครุ ฑของเดิ มบางชิ้ นนั้ น ได มี การถอดออกมา และเก็ บรั กษาเอาไว ที่ พิ พิ ธภั ณฑ ของวั ด เนื่ องจากเป นศิ ลปวั ตถุ ที่ มี คุ ณค าและเสี่ ยงต อการสู ญหายได ง าย ธรรมาสน เป นเสนาสนะประจำวั ดอย างหนึ่ ง สร างขึ้ นเพื่ อ ให พระภิ กษุ สงฆ ใช สำหรั บการนั่ งเทศนาแสดงธรรมแก ฆราวาส ในงานเทศกาลต างๆ ซึ่ งวั ตถุ ประสงค ในการทำเป นแท นสู งดั งกล าว ก็ เพื่ อเป นการแสดงถึ งศั กดิ์ ที่ สู งกว าปุ ถุ ชนธรรมดา และยั งแสดงถึ ง ตำแหน งที่ เป นประธานในการแสดงธรรมเทศนานั่ นเอง ท ายบท นอกจากโบราณวั ตถุ สถานดั งที่ กล าวมาแล วข างต น ภายใน วั ดพระรู ปยั งมี งานศิ ลปกรรมล้ ำค าอี กเป นจำนวนมาก อาทิ พระพุ ทธรู ปประธานภายในอุ โบสถ ซึ่ งเป นของอุ โบสถหลั งเดิ ม ก อนที่ จะมี การรื้ อและสร างอุ โบสถใหม เจดี ย เก าด านหลั งอุ โบสถ วิ หารมอญ หอระฆั ง ตลอดจนยั งมี พิ พิ ธภั ณฑ ของวั ดที่ ใช บริ เวณ ด านบนของหอสวดมนต เป นที่ จั ดแสดงโบราณวั ตถุ ต างๆ ที่ พบ ภายในเขตของวั ดพระรู ป สิ่ งต างๆ เหล านี้ ล วนสื่ อแสดงให เห็ นถึ ง ความสำคั ญของวั ดพระรู ปเมื่ อครั้ งอดี ตกาล ซึ่ งช างในครั้ งนั้ นได รั งสรรค งานพุ ทธศิ ลป เหล านี้ เอาไว เพื่ อสื บทอดให เป นมรดกทาง ศิ ลปวั ฒนธรรมสู เหล าชนรุ นหลั งได รั บทราบถึ งความรุ งโรจน ของ พระอารามแห งนี้ ได เป นอย างดี
ส วนล างของธรรมาสน
อ างอิ ง ๑. นั นทนา ชุ ติ วงศ , รอยพระพุ ทธบาทในศิ ลปะเอเชี ยใต และเอเชี ย อาคเนย , กรุ งเทพ : สำนั กพิ มพ เมื องโบราณ, ๒๕๓๓ ๒. สั นติ เล็ กสุ ขุ ม, “เจดี ย วั ดพระรู ป อ.เมื อง จ.สุ พรรณบุ รี หลั กฐาน ใหม ที่ ค นพบ” เมื องโบราณ ป ที่ ๑๗ ฉบั บที่ ๓ (กรกฎาคม- กั นยายน ๒๕๓๔), หน า ๑๐๒-๑๐๘. ๓. สั นติ เล็ กสุ ขุ ม, งานช าง คำช างโบราณ, กรุ งเทพ : รุ งศิ ลป การพิ มพ (๑๙๗๗) จำกั ด, ๒๕๕๓ ๔ . รุ งโรจน ภิ รมย อนุ กู ล, “ความเป นมาของวั ดพระรู ป จากคำว า “พระรู ป” ศิ ลปวั ฒนธรรม ป ที่ ๓๑ ฉบั บที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๓, หน า๕๐-๕๓ ๕. น. ณ ปากน้ ำ, เที่ ยวเมื องศิ ลปะอู ทอง, กรุ งเทพ : โรงพิ มพ เฟ องอั กษร, ๒๕๑๖ ๖. ประทุ ม ชุ มเพ็ งพั นธ , ประวั ติ วั ดพระรู ป (รวมพิ มพ ในหนั งสื อ บนศาลาการเปรี ยญของวั ดพระรู ป มี ธรรมาสน หลั งหนึ่ งตั้ งอยู ธรรมาสน หลั งนี้ ถื อกั นว าเป นงานพุ ทธศิ ลป ที่ งดงามอี กชิ้ นหนึ่ งของ วั ดพระรู ป แต มิ ได เป นของที่ อยู มาแต เดิ ม จากคำบอกเล าของ พระเทพวุ ฒาจารย (เปลื้ อง) วั ดสุ วรรณภู มิ อดี ตเจ าคณะจั งหวั ด สุ พรรณบุ รี เล าว าได นำมาจากวั ดแห งหนึ่ งทางฝ งธนบุ รี (บางท าน ว ามาจากวั ดบางยี่ เรื อ) ธรรมาสน ไม สลั ก : อาสนสงฆ ทรงปราสาทสำหรั บแสดงธรรม เทศนา
อรุ ณศั กดิ์ กิ่ งมณี จบการศึ กษาปริ ญญาตรี และโท จากคณะโบราณคดี มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร
งานออกเมรุ พระราชทานเพลิ งศพ พระครู สุ นทรสุ วรรณกิ จ (หลวงพ อดี ) ๑๖ มี นาคม ๒๕๕๑, พิ มพ ที่ P&P PRINTING PREPRESS, ๒๕๕๑, หน า ๖๐-๙๑
สนใจเป นพิ เศษเกี่ ยวกั บเรื่ องเทพฮิ นดู รวมถึ งประติ มานวิ ทยาของพุ ทธ และฮิ นดู ป จจุ บั นรั บราชการตำแหน งนั กโบราณคดี ชำนาญการพิ เศษ สำนั กศิ ลปากรที่ ๒ สุ พรรณบุ รี
Powered by FlippingBook