“ผู ที่ จะได รั บผลกระทบมากที่ สุ ดคื อชุ มชนที่ ประกอบอาชี พ อยู ตามชายแดน เมื่ อได ปรึ กษากั บสำนั กงานคณะกรรมการอุ ดม- ศึ กษา ถึ งแนวทางที่ เอสโซ จะร วมกั บหน วยงานภาครั ฐที่ เกี่ ยวข อง กั บการเตรี ยมความพร อมเข าสู ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน ก็ พบว า มี หน วยงานที่ เรี ยกว า “วิ ทยาลั ยชุ มชน” ตั้ งอยู ในจั งหวั ดที่ ติ ดกั บ เขตประเทศเพื่ อนบ าน ซึ่ งแน นอนว าวิ ทยาลั ยเหล านี้ ย อมต องปรั บ ตั วเองให สอดคล องกั บวิ ถี ชุ มชนที่ อยู ตามชายแดนอย างชั ดเจน “หลั งจากได มาพู ดคุ ยและสำรวจความเป นไปได เราพบว า วิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก วมี ความพร อม ทั้ งในรู ปของอาคาร สถานที่ สิ่ งอำนวยความสะดวกต างๆ ในระดั บป จจั ยพื้ นฐาน และที่ สำคั ญ บุ คลากร คื อผู นำมี วิ สั ยทั ศน โดยเฉพาะผู บริ หารของวิ ทยาลั ยแห งนี้ มี ประสบการณ จากการทำงานในภาคธุ รกิ จ จึ งมี ความเข าใจในการ ทำงานเชิ งรุ กและนำมาบู รณาการให เข ากั บความเป นหน วยงาน องค กรรั ฐได อย างดี ” มงคลนิ มิ ตร เอื้ อเชิ ดกุ ล กรรมการและผู จั ดการกิ จกรรม องค กรและรั ฐกิ จสั มพั นธ บริ ษั ท เอสโซ ฯ กล าวเสริ มว า “เอสโซ เข ามาเสริ มพลั งให กั บวิ ทยาลั ยในส วนที่ ยั งขาด และถื อว าเป นการ ทำงานนำร อง เพื่ อมองหารู ปแบบการพั ฒนาชุ มชนอย างยั่ งยื น “สิ่ งที่ เราตระหนั ก คื อจะพั ฒนาชุ มชนให ยกระดั บความ เป นอยู ให ดี ขึ้ นในระยะยาว หลั งการเริ่ มต นประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ยนได อย างไร? ชุ มชนตามแนวชายแดนที่ ติ ดต อค าขายกั บ ประเทศกั มพู ชา จะสามารถใช ทุ นที่ มี อยู ในท องถิ่ นของตนเองมา พั ฒนาความสามารถและยั งชี พได อย างยั่ งยื น รวมทั้ งการพั ฒนา ความสามารถในการประกอบอาชี พของตั วเอง ให เป นที่ ยอมรั บ ในประชาคมอาเซี ยนได ” นั บเป นบทเรี ยนการทำงานในรู ปแบบภาคี ร วมเรี ยงเคี ยงบ า เคี ยงไหล ไปบนเส นทางของการพั ฒนาวิ ชาการ เพิ่ มศั กยภาพและ ความก าวหน าในด านเทคโนโลยี ที่ ตอบสนองความต องการของ ชุ มชน วิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว ถื อกำเนิ ดขึ้ นมาจากการที่ จั งหวั ด สระแก วได รั บการคั ดเลื อกให เป นหนึ่ งในสิ บจั งหวั ดที่ มี การจั ดตั้ ง วิ ทยาลั ยชุ มชน โดยคำสั่ งกระทรวงศึ กษาธิ การเมื่ อป พ.ศ. ๒๕๔๔ เดิ มสถานศึ กษาแห งนี้ อยู ร วมกั บศู นย ฝ กและพั ฒนาอาชี พ ราษฎรไทยบริ เวณชายแดนจั งหวั ดสระแก ว แต เมื่ อมี การจั ดการ ศึ กษาในระดั บอนุ ปริ ญญาและหลั กสู ตรระยะสั้ น ในป พ.ศ. ๒๕๔๕ จึ งได แยกตั วออกจากศู นย ฝ กฯ มี การบริ หารโดยยึ ดหลั กปรั ชญาว า “ชุ มชนนำหน า พั ฒนาด วยวิ ชาการ ก าวหน าด านเทคโนโลยี เพิ่ ม ศั กยภาพที่ ดี ของชุ มชน” และด วยหลั กการดำเนิ นงานที่ ยึ ดถื อการเป ดกว าง เข าถึ งง าย ค าใช จ ายน อย ตอบสนองต อชุ มชนในการพั ฒนาทั้ งด านเศรษฐกิ จ
เนื่ องจากในป พ.ศ. ๒๕๕๘ หรื อป ค.ศ. ๒๐๑๕ เป นป ที่ สมาคมประชาชาติ แห งเอเชี ยตะวั นออกเฉี ยงใต (ASEAN) กำหนด ให ยกระดั บสมาชิ กทั้ ง ๑๐ ประเทศ ขึ้ นเป นประชาคมอาเซี ยน (ASEAN Community) ซึ่ งประกอบด วย ๓ เสาหลั ก ได แก ๑. ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน (ASEAN Economic Community: AEC) ๒. ประชาคมสั งคมและวั ฒนธรรมอาเซี ยน (Socio-Cultural Pillar) และ ๓. ประชาคมความมั่ นคงอาเซี ยน (Political and Security Pillar) นโยบายเสาหลั กที่ ๑ ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน (ASEAN Economic Community – AEC) คื อการให อาเซี ยนเคลื่ อนย าย สิ นค า บริ การ การลงทุ น แรงงานฝ มื ออย างเสรี ส งผลให วิ ทยาลั ย ชุ มชนสระแก ว ซึ่ งตั้ งอยู ในจั งหวั ดที่ อยู ติ ดกั บชายแดน ต องปรั บ วิ สั ยทั ศน และกระบวนการจั ดหลั กสู ตรการเรี ยนการสอนเพื่ อรองรั บ นโยบาย AEC ที่ กำลั งจะเกิ ดขึ้ น โดยมี การจั ดหลั กสู ตรทั้ งในระยะ สั้ นและในระดั บอนุ ปริ ญญาให สอดคล องกั บความต องการของ ชุ มชน เพื่ อให สามารถนำไปปรั บใช ในชี วิ ต เพื่ อความก าวหน าใน การทำงานและเพิ่ มศั กยภาพในการติ ดต อค าขายร วมกั บประเทศ เพื่ อนบ านใกล เคี ยงคื อ กั มพู ชา ได อย างมี ประสิ ทธิ ภาพ ในขณะเดี ยวกั น บริ ษั ท เอสโซ (ประเทศไทย) จำกั ด (มหาชน) เล็ งเห็ นความสำคั ญของการเตรี ยมชุ มชนให พร อมรั บความเปลี่ ยน แปลงนี้ จึ งได ร วมมื อกั บวิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว จั ดทำ โครงการ เตรี ยมความพร อมให แก นั กศึ กษาและประชาชนทั่ วไปแถบ ชายแดน ในการพั ฒนาความรู และทั กษะสู ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ยน โดยเอสโซ ได สนั บสนุ นงบประมาณในการดำเนิ นโครงการ รวมทั้ งมอบเครื่ องคอมพิ วเตอร แบบพกพาจำนวน ๒๐ เครื่ อง ให แก วิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก วเพื่ อใช เป นศู นย ค นคว าและศึ กษา ข อมู ลทางอิ เล็ กทรอนิ กส อี กด วย การทำงานร วมกั นระหว างหน วยงานภาครั ฐและเอกชนครั้ งนี้ ถื อเป นการเป ดประตู บานใหม ของการเรี ยนรู แลกเปลี่ ยน รวมทั้ ง ร วมกั นเสริ มพลั งความเข มแข็ งให แก ชุ มชน “การพั ฒนาประเทศเพื่ อเข าสู ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน ในป ๒๐๑๕ นั้ น เราเห็ นว าจะมี ผลกระทบต อชุ มชนไม มากก็ น อย” อิ ศรา สุ นทรวิ ภาต ที่ ปรึ กษากิ จกรรมองค กรและรั ฐกิ จสั มพั นธ บริ ษั ท เอสโซ ฯ เล าถึ งเส นทางสู ความร วมมื อระหว างเอสโซ กั บ วิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว
Powered by FlippingBook