“ล าสุ ด เราเพิ่ งมี นั กเรี ยนอายุ เจ็ ดสิ บกว าจบจากเราไป แล วไป ต อจนได ปริ ญญาตรี ” ผู อำนวยการวิ ทยาลั ยบอกด วยรอยยิ้ ม การออกแบบหลั กสู ตรการเรี ยนรู ของวิ ทยาลั ยที่ ตอบสนองต อ ผู เรี ยนในชุ มชนรวมทั้ งสามารถบู รณาการให เป นส วนหนึ่ งของการ เตรี ยมพร อมเพื่ อเข าสู ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยนที่ ทำอยู ในขณะนี้ คื อการจั ดทำหลั กสู ตรระยะสั้ นวิ ชาชี พต างๆ เช น ภาษาอั งกฤษ เพื่ อการสื่ อสาร การทำขนมไทยแห ง การค าชายแดน การเพาะเห็ ด การทำของใช ในครั วเรื อน การนวดแผนไทยเพื่ อสุ ขภาพ เป นต น ซึ่ งหลั กสู ตรเหล านี้ เกิ ดขึ้ นจากความต องการของคนในชุ มชนอย าง แท จริ ง ในการเรี ยนการสอนก็ ใช ครู ภู มิ ป ญญา ปราชญ ท องถิ่ น หรื อ กระทั่ งผู ที่ มี อาชี พ มี ความเชี่ ยวชาญในด านเหล านั้ นมาเป นผู สอน และขณะเดี ยวกั น ก็ สามารถยกระดั บของผู สอนให มี ความรู ความ สามารถเพิ่ มขึ้ นด วยการมาเป นผู เรี ยนไปด วย บุ ษบา ยิ นดี สุ ข อาจารย สอนพิ เศษสาขาการแพทย แผนไทย ประยุ กต มหาวิ ทยาลั ยมหาสารคาม คื อตั วอย างดั งกล าว เธอเป นทั้ งครู ผู สอนในหลั กสู ตรอนุ ปริ ญญานวดแผนไทย และ นั กศึ กษาในหลั กสู ตรแพทย แผนพื้ นบ านในวิ ทยาลั ยชุ มชนแห งนี้ ด วยเช นกั น “ในช วงที่ เราเป นครู สอน เราจะสอนเสาร อาทิ ตย ส วนถ าเป น ผู เรี ยน เราจะมาเรี ยนตอนเย็ นหรื อเรี ยนตอนกลางวั นบ าง ลั กษณะ การเรี ยนรู ของเราจึ งเป นการเรี ยนไปด วยและสอนไปด วยในตั ว” บุ ษบาให ความเห็ นเพิ่ มเติ มว า วิ ทยาลั ยแห งนี้ ถื อเป นสถานที่ เป ดกว าง ทางการศึ กษาให คนในชุ มชนได ยกระดั บความรู ของตนเองอย าง แท จริ ง โดยดู จากประสบการณ ของเธอที่ มี ลู กศิ ษย มาเรี ยนนวด แผนไทยว าการได สอนเหล านั กเรี ยนที่ มี อาชี พเป นลู กจ างให บริ การ ในร านนวด พอมาได ความรู เพิ่ มเติ มจากที่ แห งนี้ ก็ ทำให พวกเขามี โอกาสพั ฒนาตั วเองให กลายเป นเจ าของร านนวดได ถื อเป นความ ภู มิ ใจของทั้ งตั วผู สอนและของวิ ทยาลั ยเองที่ ได ทำหน าที่ นี้ ด วยเห็ นถึ งวิ สั ยทั ศน พั นธกิ จในการผสานนโยบายการเป ด ตลาดสู ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยนของวิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว เอสโซ จึ งได ร วมสนั บสนุ นให สถาบั นแห งนี้ ทำหน าที่ เป นสถาบั นทาง วิ ชาการเพื่ อพั ฒนาและยกระดั บความเป นอยู ของชุ มชนอย างแท จริ ง นอกเหนื อจากการทำหน าที่ เผยแพร วั ฒนธรรมความเป นไทยไปสู เพื่ อนบ านให ได เข าใจเมื องไทยมากขึ้ น การสนั บสนุ นของเอสโซ จึ งเหมื อนสะพานเชื่ อมโอกาสใน อนาคตของผู คนในชุ มชนจั งหวั ดสระแก วให มี ความมั่ นคงทางอาชี พ ได สร างเสริ มศั กยภาพของตนเอง และนำความรู ที่ ได กลั บมารั บใช ชุ มชนของตนเองอี กทอดหนึ่ ง
และสั งคม ทำให วิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว เป นตั วแทนของสถาบั น การศึ กษาที่ ไร ขี ดจำกั ดทั้ งผู เรี ยนและผู สอน “เราต องมี ความคล องตั วในการจั ดการศึ กษาที่ เอื้ อกั บชุ มชน ให มากที่ สุ ด แม จะถู กกำหนดจากกรอบระเบี ยบของทางหน วยงาน ต นสั งกั ดที่ เป นภาครั ฐ แต วิ ทยาลั ยก็ พยายามหาแนวทางที่ ทำให ทุ กฝ ายได ประโยชน มากที่ สุ ด” ศิ ระพจต จริ ยาวุ ฒิ กุ ล ผู อำนวยการ วิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก ว ให ภาพที่ ชั ดเจนของหลั กการและปรั ชญา ในการจั ดการเรี ยนรู ของวิ ทยาลั ยแห งนี้ ซึ่ งถื อว ามี จุ ดเด นในการ บริ หารงานคื อ การสร างการมี ส วนร วมจากหน วยงานทุ กภาคส วน ของชุ มชนผ านคณะกรรมการสภาวิ ทยาลั ยที่ มาจากการสรรหา ผู ทรงคุ ณวุ ฒิ ผู มี ประสบการณ ครู ภู มิ ป ญญา ปราชญ ท องถิ่ น นั กธุ รกิ จท องถิ่ น และผู มี ความรู ความเชี่ ยวชาญ เพื่ อให มาร วมกั น ไม ใช เพี ยงมี หน าที่ ให คำปรึ กษาและควบคุ มการทำงานของวิ ทยาลั ย แต ยั งมี ส วนร วมในการกำหนดนโยบายจั ดหลั กสู ตรสถานศึ กษา อี กด วย เมื่ อคณะกรรมการสภาหารื อกั นว าอยากให วิ ทยาลั ยจั ด หลั กสู ตรที่ สอดคล องกั บความต องการของชุ มชนในพื้ นที่ อย างแท จริ ง ผู อำนวยการวิ ทยาลั ยในฐานะหั วขบวนขององค กรจึ งต องมี วิ สั ยทั ศน ที่ ชั ดเจน เข าใจถึ งความต องการของชุ มชนและออกแบบ แนวทางการจั ดการให ชุ มชนเข าถึ งความต องการได อย างแท จริ ง “เนื่ องจากการจั ดการเรี ยนรู ของวิ ทยาลั ยแห งนี้ ต องตอบโจทย ชุ มชนได ทุ กระดั บ ตั้ งแต ระดั บจั งหวั ดลงมาจนถึ งหมู บ าน ทำให เรา ต องทำงานร วมกั นอย างใกล ชิ ดทุ กระดั บไปด วย ตั วผมเองโชคดี ที่ เคยมี ประสบการณ ในการทำงานกั บหลายระดั บทั้ งในภาคประชา- สั งคมและหน วยงานธุ รกิ จ ทำให ได เรี ยนรู การบริ หารงานแบบแนว ราบมากกว าแนวดิ่ ง ขณะเดี ยวกั น เราต องจั ดการศึ กษาสองแบบ เป นหลั กคื อ ระดั บอนุ ปริ ญญา และระยะสั้ น แต มั นก็ ยั งไม เพี ยงพอ เราจึ งต องออกแบบหลั กสู ตรที่ เรี ยกว า โปรเจ็ คเบส (Project-Based Learning) คื อการจั ดการเรี ยนรู โดยคำนึ งผู เรี ยนเป นสำคั ญ ทำ อย างไรให ผู เรี ยนอยู ดี มี สุ ข เราต องเอาสถานที่ ของผู เรี ยนเป นตั วตั้ ง และให ความรู ทุ กด านทั้ งเป นการศึ กษาต อ การศึ กษาอาชี พ และ การศึ กษาที่ ตอบสนองความต องการของผู เรี ยนเป นหลั ก” ในการออกแบบหลั กสู ตรที่ ตอบสนองต อความต องการของ ผู ประกอบการและผู เรี ยนนั้ น ทางวิ ทยาลั ยวางแผนว าจะเชิ ญ ผู ประกอบการทั้ งหมดที่ ทำธุ รกิ จการโรงแรมมาพู ดคุ ยเพื่ อให ทราบ ถึ งความต องการว าหากอยากได ผู ช วยทำงานในโรงแรม พวกเขา มองหาคนแบบไหน มี คุ ณสมบั ติ อย างไร อี กทั้ งยั งต องฟ งเสี ยง ผู เรี ยนด วยเช นกั นว าจะเรี ยนด วยวิ ธี การอย างไร ในช วงเวลาไหน ระยะเวลาเรี ยนควรเป นเท าไหร กระบวนการนี้ จึ งถื อเป นการ ออกแบบการเรี ยนรู ที่ สร างการมี ส วนร วมจากผู มี ส วนได ส วนเสี ย อย างแท จริ ง โดยวิ ทยาลั ยชุ มชนสระแก วเป ดโอกาสให ผู เรี ยนอย าง แท จริ ง ก็ คื อทั้ งอายุ และเพศของผู เรี ยนไม มี ข อจำกั ดใดๆ ทั้ งสิ้ น
Powered by FlippingBook