Quarter 2/2013

สามโคกบ านเมื องนี้ มี ชื่ อปรากฏมาแล ว ตั้ งแต สมั ยกรุ งศรี - อยุ ธยาเป นราชธานี เป นบ านเมื องติ ดเขตพระนครทางด านทิ ศใต ริ มฝ งแม น้ ำเจ าพระยาเส นทางการค าสำเภาที่ จะออกสู ทะเลทาง อ าวไทย ในหนั งสื อ “คำให การขุ นหลวงวั ดประดู ทรงธรรม” ซึ่ งความส วนใหญ เกี่ ยวกั บประวั ติ ศาสตร สมั ยอยุ ธยาตอนปลาย ในส วนที่ ว าด วยตำแหน งยศพระราชาคณะฐานานุ กรม ได แบ ง เขตการปกครองของคณะสงฆ เป นเจ าคณะฝ ายขวา และ เจ าคณะฝ ายซ าย ในส วนเจ าคณะฝ ายซ ายมี เมื องฝ ายเหนื อ ขึ้ นสั งกั ดอยู ๔๙ เมื อง มี ชื่ อเมื อง “ สามโคก คื อ เมื อง บั วทอง ” ปรากฏอยู เป นหลั กฐาน สามโคก คื อ เมื องบั วทอง ตั้ งบ านตั้ งเมื องอยู ฝ งตะวั นตกของ แม น้ ำเจ าพระยาบริ เวณคุ งน้ ำที่ กว างใหญ ระหว างวั ดสะแก และวั ดไก เตี้ ย แม น้ ำเจ าพระยาที่ ไหลคดโค งทำให เกิ ดการ ตกตะกอนดิ นดอนลาดล้ ำชายฝ งแม น้ ำเกิ ดเป นดงบั วตลอด ริ มสองฝ งน้ ำชู ดอกออกฝ กสะพรั่ งงามตาเนิ่ นนานจนชาวพระนคร ศรี อยุ ธยาเรี ยกเมื องสามโคกนี้ ว า เมื อง “บั วทอง” เมื องที่ มี ดอกบั ว หลวงงามดั่ งทอง ดอกบั ว (Lotus) เป นบั วในสกุ ล Nelumbo มี ชื่ อทางวิ ทยา- ศาสตร Nelumbo nicifera มี ถิ่ นกำเนิ ดแถบเอเซี ยในเขตร อนและ อบอุ น เช น จี น อิ นเดี ย และไทย ดอกตู มจะป อมกลมปลายแหลม ดอกใหญ ชู ก านดอกพ นน้ ำ ดอกบานในเวลากลางวั นมี กลิ่ นหอม เกสรอ อนๆ ตรงกลางดอกเป นฝ กบั วอ อน ด านบนเป นปุ มเกสรตั วเมี ย สี เหลื องทองกระจายเต็ มรอบฝ ก มี ก านเกสรตั วผู โดยรอบเป นฝอย หนาหลายชั้ นสี ทอง ปลายก านเกสรตั วผู มี สี ขาวโดดเด นสวยงาม อยู ตรงกลาง กลี บดอกประกอบด วยกลี บเลี้ ยง ๔ – ๖ กลี บ กลี บ ดอกซ อนกั น ๔ ชั้ น มี กลี บดอกประมาณ ๑๕ – ๒๐ กลี บ ต อ ๑ ดอก กลี บดอกบั วมี สี ชมพู ปนสี ขาวสวยงามสะดุ ดตา โคนกลี บเล็ กตรงกลาง กว างปลายเรี ยวแหลม โคนกลี บมี สี เหลื องปนขาวและสี ชมพู อ อน และเป นสี ชมพู เข มเพิ่ มขึ้ นตรงปลายกลี บดอกบั ว ดอกบั วหลวงเมื่ อ ออกดอกพร อมกั นจะบานสะพรั่ งเป นสี ชมพู เกสรสี ทองเหลื องอร าม ชู ก านเต็ มดงบั วที่ มี ใบบั วสี เขี ยวเป นพื้ นริ มสองฝ งแม น้ ำเจ าพระยา ที่ สามโคก ฝ กของบั วหลวงนั้ นในส วนของเมล็ ดใช ประกอบอาหารได ทั้ งอาหารคาวและอาหารหวาน รากเหง าบั วใช ต มน้ ำดื่ ม ส วนเกสร ก็ ใช เป นสมุ นไพรรั กษาโรค และใบบั วก็ ใช เป นภาชนะห อข าวห อ อาหารการกิ นใช กั นมาตั้ งแต โบราณ ดอกของบั วหลวงกั บพระพุ ทธศาสนามี ความสำคั ญเกี่ ยวกั บ พุ ทธประวั ติ มาตลอดตั้ งแต ประสู ติ ตรั สรู ปริ นิ พพาน ดอกบั วจึ ง เป นดอกไม ที่ ชาวพุ ทธใช บู ชาพระรั ตนตรั ยมากว า ๒,๐๐๐ ป แล ว

â´Â ÇÕ ÃÇÑ ²¹ ǧȏ ÈØ »ä·Â

ซ ายบน: รั ชกาลที่ ๒ พร อมขุ นนางผู ใหญ ตามเสด็ จไปรั บบั วที่ สามโคก

Powered by