การเดิ นทางทางบกไปสุ พรรณบุ รี ที่ ปรากฏเป นลายลั กษณ อั กษร มี ในรายงานการเดิ นทางตรวจราชการของสมเด็ จกรม พระยาดำรงราชานุ ภาพ เล าถึ งการเดิ นทางจากอ างทองไปสุ พรรณ- บุ รี โดยทรงม า ออกจากเมื องอ างทอง ขณะที่ น้ ำเพิ่ งลด หนทางยั ง เฉอะแฉะ ผ านย านสาวร องไห มาเข าเมื องสุ พรรณ ใช เวลาเดิ นทาง ค อนวั น การเดิ นทางครั้ งนี้ เป นการเสด็ จครั้ งแรก และเป นการ เดิ นทางที่ ลบความเชื่ อเรื่ องห ามเจ าไปเมื องสุ พรรณ คราวสมเด็ จกรมพระยาดำรงราชานุ ภาพ ไปตรวจราชการ ร.ศ. ๑๒๒ (พ.ศ. ๒๔๔๗) ทรงเล าถึ งการเดิ นทางเข ากรุ งเทพ มหานครของชาวเมื องสุ พรรณบุ รี ก อนป ร.ศ. ๑๑๗ (พ.ศ. ๒๔๔๒) ไว ว า “ได ทราบว า คนสุ พรรณบุ รี จะไปกรุ งเทพฯ น าน้ ำต องไปเรื อ จนถึ งกรุ งเทพฯ บ าง บางที ไปเรื อเพี ยงบ านผั กไห ไปลงเรื อเมล ที่ นั่ น ถ าน าแล งโดยมากเดิ นทางบกไปลงเรื อเมล ที่ บ านผั กไห ” ทรงเล า ต อว า “เดี๋ ยวนี้ (พ.ศ. ๒๔๔๗) คนไปมาระหว างสุ พรรณกั บกรุ งเทพฯ ขึ้ นลงที่ สะเตชั่ นวั ดงิ้ วรายวั นละมากๆ จนกรมรถไฟจะทำทางรถไฟ หลี กตรงนี้ และขยายสะเตชั่ นให ใหญ ขึ้ นกว าแต ก อน” รถไฟสายใต เริ่ มมี ตั้ งแต ป พ.ศ. ๒๔๔๖ จากบางกอกน อยถึ ง เพชรบุ รี และสาเหตุ ที่ คนสุ พรรณบุ รี ไปขึ้ นลงรถไฟเข ากรุ งเทพฯ ที่ สถานี รถไฟวั ดงิ้ วราย เพราะมี เรื อเมล โดยสารแล นรั บส งคน โดยสารระหว างเมื องสุ พรรณบุ รี กั บสถานี วั ดงิ้ วราย
“ออกแล วจ า บางระกำ ลำพระยา บางปลา สองพี่ น อง บางปลาม า เก าห อง ลอยละล องขึ้ นสุ พรรณ” การเดิ นทางติ ดต อระหว างสุ พรรณบุ รี กั บเมื องต างๆ ในสมั ย โบราณ มี ทั้ งทางบกและทางน้ ำ ทางบก ใช การเดิ นเท า ใช พาหนะ ม า เกวี ยน ทางน้ ำใช พาหนะเรื อพาย เรื อแจว เป นต น การเดิ นทางระหว างเมื องสุ พรรณบุ รี กั บกรุ งเทพมหานคร สมั ยต นรั ตนโกสิ นทร ที่ บั นทึ กเป นลายลั กษณ อั กษร มี การเดิ นทาง ของสุ นทรภู ตามปรากฏในโคลงนิ ราศสุ พรรณ ที่ หนึ่ ง และการ เดิ นทางของเสมี ยนมี ตามปรากฏในนิ ราศสุ พรรณบุ รี อี กที่ หนึ่ ง เป นการเดิ นทางสมั ยรั ชกาลสมเด็ จพระนั่ งเกล าเจ าอยู หั ว การ เดิ นทางทั้ งสองครั้ งใช เส นทางเดี ยวกั น คื อเส นทางเริ่ มต นจากแม น้ ำ เจ าพระยา เข าคลองบางกอกน อย ผ านคลองบางใหญ คลองโยง ออกแม น้ ำท าจี นที่ บ านตากฟ า ทวนน้ ำผ านบางสาม บางแม หม าย บางปลาม า เข าเมื องสุ พรรณบุ รี สำหรั บการเดิ นทางติ ดต อทางบก ยั งไม พบบั นทึ ก การเดิ นทางทางน้ ำน าจะสะดวกที่ สุ ดในสมั ยนั้ น
Powered by FlippingBook