Quarter 2/2013

เรื อของบริ ษั ท สุ พรรณบุ รี ขนส ง ล วนต อที่ อู ต อเรื อของบริ ษั ท ข างวั ดงิ้ วราย โดยช างชาวจี นไหหลำ มี ๓ – ๔ แบบ ๑. แบบเรื อชั้ นเดี ยว รู ปแบบตามที่ กล าวแล ว ลำเรื อยาว ๑๐ - ๑๕ เมตร กว าง ๓ เมตร ระวางบรรทุ ก ๕๐ คน ๒. แบบเรื อชั้ นครึ่ ง เป นเรื อที่ ต อขึ้ นใช เป นเรื อลากจู ง เช น ลากจู งเรื อบรรทุ กข าวเปลื อก ข าวสาร หรื อแพซุ ง ๓. แบบเรื อสองชั้ น พั ฒนาจากเรื อชั้ นเดี ยวเพื่ อเพิ่ มปริ มาณ ผู โดยสาร เป นเรื อขนาดใหญ กว าทุ กแบบ ตั วเรื อยาว ๑๒ เมตร กว าง ๓ - ๕ เมตร พวงมาลั ยสำหรั บบั งคั บเรื ออยู ชั้ นบนด านหน า ชั้ นบนด านท ายเรื อบางลำทำยกพื้ นยกระดั บเรี ยกท ายบาหลี มี ที่ นั่ ง สำหรั บพระภิ กษุ ซึ่ งโดยสารฟรี เครื่ องยนต อยู กลางลำ ต อท อไอเสี ย ไปท ายเรื อ ๔. แบบเรื อด วน รู ปทรงต างจากเรื อแบบอื่ น หั วแหลมชะโงก ไปด านหน า ลำเรื อยาว ๑๒ เมตร มี เก าอี้ นั่ งตลอดลำเรื อ น าจะ แบบเรื อด วนเจ าพระยา เครื่ องยนต ค อนไปทางท ายเรื อ มี หลั งคา กั นแดดฝน พั ฒนาเพื่ อเพิ่ มความเร็ ว แข งกั บรถยนต ที่ เริ่ มเข ามามี บทบาท เรื อปกติ แล นสุ พรรณ - งิ้ วราย ๘ ชั่ วโมง เรื อด วนแค ๔ ชั่ วโมง

บริ การเรื อเมล ของบริ ษั ท สุ พรรณบุ รี ขนส ง ก อตั้ งในป เดี ยวกั บ การเริ่ มเดิ นรถไฟ ในป ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๖) โดยมี พระยาวั ยวุ ฒิ หลวงโสภณเพชรั ตน นายพิ นทิ พรั กษา นายเพิ่ มเสน หา เป นหุ นส วน และมี นายพิ นทิ พรั กษา เป นผู จั ดการบริ ษั ท เรื อเมล นี้ จะรั บคนโดยสารที่ เดิ นทางโดยรถไฟมาจากกรุ งเทพฯ มาถึ งสถานี งิ้ วราย ลงเรื อในตอนเช า ส งถึ งเมื องสุ พรรณบุ รี ในเวลา ค่ ำวั นนั้ น แล วรั บคนเมื องสุ พรรณบุ รี เวลาเช า ล องมาขึ้ นรถไฟที่ สถานี เวลาเย็ น ถั ดมาอี กป หนึ่ ง มิ สเตอร ซอนเตอร ซั่ น ผู จั ดการเรื อไฟโดยสาร สายกรุ งเก ากั บลพบุ รี นำเรื อเข ามาวิ่ งแข งกั บเรื อเมล บริ ษั ท สุ พรรณ- บุ รี ขนส ง วิ่ งแข งกั นอยู ระยะหนึ่ งต างก็ ประสบป ญหาขาดทุ น บริ ษั ท สุ พรรณบุ รี ขนส ง จึ งยื่ นคำขาด ขู จะส งเรื อไปวิ่ งแข งในเส นทางของ มิ สเตอร ซอนเตอร ซั่ นบ าง ขณะเดี ยวกั นบริ ษั ท สุ พรรณบุ รี ขนส ง ขยายท าเที ยบเรื อ โดยกว านซื้ อที่ บริ เวณใกล เคี ยงสถานี งิ้ วราย ทำให เรื อของมิ สเตอร ซอนเตอร ซั่ น ต องจอดห างสถานี รถไฟออกไป ผู โดยสารต องเดิ นไกลไม สะดวก คนโดยสารยิ่ งน อยลง มิ สเตอร ซอนเตอร ซั่ น จึ งยอมเลิ กถอยเรื อกลั บไป การเดิ นทางไปมาหาสู ระหว างเมื อง ระหว างจั งหวั ด ในภาค กลางส วนใหญ ใช เส นทางแม น้ ำ ลำคลอง ถึ งแม ต อมาจะเริ่ มมี ทาง รถไฟ ทางรถยนต มี เฉพาะสายหลั ก เช น ทางรถไฟสายใต ทาง รถไฟสายเหนื อ ทางรถยนต สายเพชรเกษม ทางรถยนต สายประชา- ธิ ป ตย (พหลโยธิ น) เส นทางเหล านี้ ผ านบางจั งหวั ดเท านั้ น ยั งไม มี เส นทางติ ดต ออย างทั่ วถึ งเช นป จจุ บั น แม น้ ำเจ าพระยา แม น้ ำท าจี น เป นเส นทางขนส งที่ สำคั ญในการขนส งผู โดยสารและสิ นค า มี ผู ประกอบการขนส งทางลำน้ ำเกิ ดขึ้ น ตามลำน้ ำเจ าพระยา มี เรื อเมล จากชั ยนาท ถึ งท าเตี ยน ในลำน้ ำท าจี น มี เรื อเมล จากสุ พรรณบุ รี นครปฐม ราชบุ รี สมุ ทรสาคร ไปมาหาสู ขนส งสิ นค าระหว างจั งหวั ด และเชื่ อมต อกั บกรุ งเทพฯ บริ ษั ท สุ พรรณบุ รี ขนส ง เป นบริ ษั ทเดิ นเรื อในเส นทางแม น้ ำ เจ าพระยาและท าจี นที่ ใหญ ที่ สุ ด รู ปแบบของเรื อเมล สุ พรรณบุ รี ขนส ง ประกอบด วยตั วลำเรื อต อด วยไม ตะเคี ยนและไม สั ก หั วเรื อ คล ายเตารี ดผ าเตาถ านแบบโบราณ หลั งคาทำเป นแผ นแบนๆ ยาวไปตามลำเรื อ มี เสารองรั บ มี ผ าผู กชายคาเรื อสำหรั บบั งแดด และฝน เครื่ องยนต อยู กลางลำเรื อ มี ปล องท อไอเสี ยต อไปบน หลั งคา พวงมาลั ยอยู ทางหั วเรื อ ที่ ท ายเรื อมี ห องสุ ขา ตั วเรื อ ภายนอกทาด วยสี แดง ท องเรื อสี ดำ จึ งเรี ยกกั นว า “เรื อเมล แดง” มี ชื่ อเรื อติ ดที่ กราบด านหั วเรื อทั้ งสองข าง ระยะแรกเครื่ องยนต เป น เครื่ องจั กรไอน้ ำ ใช ฟ นเป นเชื้ อเพลิ ง ต อมาเปลี่ ยนเป นเครื่ องน้ ำมั น เตา แล วเปลี่ ยนเป นโซล า

Powered by