Quarter 3/2014

หว าเจ าคุ ณ Syzygium winitii (Craib) Merr. et L.M. Perry อยู ในวงศ ชมพู (Myrtaceae) ตั วอย างพั นธุ ไม ต นแบบเก็ บโดยพระยาวิ นิ จ หมายเลข Winit 1787 จาก ป าดิ บชื้ น ในหมู บ านแม สะเนี ยน จ. น าน ที่ ระดั บความสู ง ๔๐๐ เมตร ตี พิ มพ รายงานการตั้ งชื่ อ Eugenia winitii ลงในวารสารของราชอุ ทยานคิ วในป พ.ศ. ๒๔๗๒ ต อมาจึ งเปลี่ ยนเป นชื่ อ Syzygium winitii ในป พ.ศ. ๒๔๘๔ ลั กษณะเป นไม พุ มสู ง ๕ เมตร ใบค อนข างยาว ผิ วใบเรี ยบสี เขี ยวเข มเป นมั น ผลกลมทรงกระบอก เมื่ อ สุ กสี ม วง เป นอาหารของสั ตว ป า และยั งเป นพื ชป าที่ ยั ง ไม มี การนำมาปลู กเพื่ อใช ประโยชน พรรณไม แต ละชนิ ด มี ชื่ อระบุ ชนิ ด winitii ที่ บ งบอก ได ว า พระยาวิ นิ จ เป นผู สำรวจพบเป นครั้ งแรก จึ งนั บ เป นเกี ยรติ ต อผู ค นพบ และเป นเกี ยรติ ต อประเทศไทย ในฐานะของสถานที่ สำรวจพบเป นครั้ งแรก มี บางชนิ ด ที่ มี รายงานว ามี การสำรวจพบเฉพาะในประเทศไทย ที่ เรี ยกว า พรรณไม ถิ่ นเดี ยว (endemic to Thailand) ได แก อรพิ ม มหาพรหม และมะพลั บเจ าคุ ณ บางชนิ ด มี ดอกสวยงาม ปลู กกั นมากจนเป นพื ชเศรษฐกิ จ ดั งเช น กล วยจะก าหลวง นำมาจำหน ายกั นในวั นเข าพรรษา จนกระทั่ งผู คนทั่ วไปเรี ยกกั นว า ดอกเข าพรรษา แต บาง ชนิ ดถึ งจะมี ดอกสวยงาม มี กลิ่ นหอม ก็ ยั งไม ค อยมี คน รู จั ก ดั งเช น หมั กม อ ยั งไม มี ใครนำมาปลู กเป นไม ดอก ไม ประดั บ น าเสี ยดายที่ ยั งปล อยให สวยงามอยู เฉพาะ แต ในป า รอวั นให ผู คนประจั กษ ในคุ ณค า แล วพั ฒนา เป นพื ชเศรษฐกิ จเหมื อนกั บชนิ ดอื่ นได บ าง อย างไรก็ ตาม ยั งมี อี กหลายชนิ ด อาทิ ปอตี นเต า ยาบขี้ ไก และหญ า- เลื อดใหม ที่ ยั งไม มี ใครรู จั ก ยั งไม มี การนำมาใช ประโยชน สมควรที่ นั กวิ จั ยในแต ละแขนงของไทยจะได เร งรี บวิ จั ย และพั ฒนาหาคุ ณค าในตั วมั นเอง แล วนำมาใช ประโยชน ก อนที่ ผลงานวิ จั ยพรรณไม พื้ นเมื องเหล านี้ จะตกเป น ของชาวต างชาติ

ช อดอกหมั กม อ

หญ าเลื อดใหม Phyllanthus winitii Airy Shaw อยู ในวงศ เปล า (Euphorbiaceae) มี อี กชื่ อหนึ่ งคื อ มะขามป อมดิ น ตั วอย างพั นธุ ไม ต นแบบเก็ บโดย พระยา วิ นิ จ หมายเลข Winit 430 จากบ านแม ลี้ จั งหวั ดลำพู น ที่ ระดั บความสู ง ๕๕๐ เมตร เมื่ อวั นที่ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ มี รายงานการตั้ งชื่ อในป พ.ศ. ๒๕๑๒ เป นไม ต นขนาดเล็ ก ไม แตกแขนง ต นสู ง ๖๐ ซม. ใบประกอบคล ายใบมะขาม เรี ยงสลั บในระนาบเดี ยวกั น ยาว ๗-๘ ซม. ใบย อยรู ปขอบขนานยาว ๐.๘ ซม. ดอก แยกเพศ ผลแตกตามพู หญ าเลื อดใหม กระจายพั นธุ อยู ในภาคเหนื อ เป นพรรณไม ป าที่ ยั งไม ค อยมี คนรู จั ก ในป จจุ บั นยั งไม มี การนำมาใช ประโยชน หมั กม อ Rothmannia wittii (Craib) Bremek. อยู ในวงศ เข็ ม (Rubiaceae) ตั วอย างพั นธุ ไม ต นแบบเก็ บ โดยพระยาวิ นิ จ (ในชื่ อของ Witt และไม ระบุ หมายเลขที่ เก็ บ) จากป าเต็ งรั งบ านชุ มแสง จั งหวั ดนครราชสี มา ที่ ระดั บความสู ง ๖๐ เมตร มี รายงานตี พิ มพ ครั้ งแรก ในชื่ อของ Randia wittii ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ แล วเปลี่ ยน เป นชื่ อนี้ ในป เดี ยวกั น ลั กษณะเป นไม ต นขนาดเล็ ก สู ง ๖-๑๐ เมตร ใบเดี่ ยวเรี ยงตรงข ามเป นคู รู ปรี ยาว ๖-๑๐ ซม. ดอกออกเป นกระจุ กใกล ปลายยอดสี ขาวนวล จำนวน ๑-๑๒ ดอก รู ประฆั ง ปลายแยกเป น ๕ กลี บ ดอกบานมี ขนาด ๓-๕ ซม. กลี บดอกด านในมี จุ ดประสี ม วงแดง ออกดอกพร อมกั นทั้ งต น ในเดื อนมี นาคม- เมษายน มี ฤดู ดอกบานนาน ๑ สั ปดาห ส งกลิ่ นหอม ช วงกลางวั นและกลางคื น ผลกลมขนาด ๓-๔ ซม. เมื่ อสุ กสี ดำ เนื้ อในรั บประทานได ขยายพั นธุ ได โดยการ เพาะเมล็ ด นั บว าเป นพรรณไม ป าที่ มี ดอกสวยงามและ มี กลิ่ นหอม แต ยั งไม ค อยเป นที่ รู จั กกั นอย างแพร หลาย

ดร.ป ยะ เฉลิ มกลิ่ น ป จจุ บั นเป นผู เชี่ ยวชาญพิ เศษ สถาบั นวิ จั ยวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี แห งประเทศไทย (วว.) ทำงานวิ จั ยเกี่ ยวกั บเรื่ องทางด านเทคโนโลยี การเกษตร ในการพั ฒนา พรรณไม ที่ หายากและใกล สู ญพั นธุ เพื่ อการใช ประโยชน และอนุ รั กษ อย างยั่ งยื น

Powered by