ในบรรดาวั ดที่ สร างโดยได รั บอิ ทธิ พลจากศิ ลปะพม า ซึ่ งขึ้ นทะเบี ยนโบราณสถานกั บกรมศิ ลปากร วั ดศรี ชุ ม ได รั บการยกย องว าเป นเลิ ศ อาคารซึ่ งขึ้ นทะเบี ยน โบราณสถานกั บกรมศิ ลปากรภายในวั ด ได แก วิ หาร ทรวดทรงแบบพม าและโบสถ ทรงมณฑปแบบพม า นอกจากนี้ ภายในวั ดยั งมี เจดี ย หอสวดมนต และกุ ฏิ สงฆ อั นสร างอย างวิ จิ ตรบรรจง บริ เวณกลางวั ดเป นที่ ตั้ งของวิ หารซึ่ งเป นอาคาร ๒ ชั้ น ชั้ นบนเป นไม ชั้ นล างเป นตึ กวิ หาร เป นอาคาร มี ยอดปราสาท ๕ ยอด ยอดปราสาทตรงกลางมี ยอดสู ง ลดหลั่ นกั น ๖ ชั้ น เรื อนยอดชั้ นสู งสุ ดประดั บฉั ตรทอง อั นเป นเอกลั กษณ ของประติ มากรรมพม า ยอดปราสาท ทางทิ ศเหนื อและใต มี ยอดสู งลดหลั่ นกั น ๕ ชั้ น ยอด ปราสาททางทิ ศตะวั นออกและตะวั นตก มี ยอดสู ง ลดหลั่ นกั น ๔ ชั้ น หลั งคาของยอดปราสาทประดั บ ด วยไม และสั งกะสี แกะสลั ก เหนื อบั นไดทางขึ้ น วิ หารทั้ งสองด านมี หน ามุ ขแกะสลั กลงรั ก ป ดทอง เป นรู ปตุ กตาพม ายื นอยู บนลาย เครื อเถา หน าบั นของหน ามุ ขเป นไม จำหลั ก ประดั บกระจกสี ฝ มื อของช างชาวพม า จากเมื องมั ณฑเลย ภายในวิ หารแห งนี้ เป นที่ ประดิ ษฐานพระพุ ทธรู ปจาก ประเทศพม า ทางทิ ศตะวั นออกของวิ หาร เป นที่ ตั้ งของ อุ โบสถทรงจั ตุ รมุ ข ก ออิ ฐฉาบปู นประดั บ กระจกสี หลั งคาทรงมณฑปย อมุ มไม สิ บสอง ประกอบด วยเรื อนยอด ๕ ยอด ยอดกลางสู ง ๗ ชั้ น ชั้ นสู งสุ ดประดั บฉั ตรทอง ตามเชิ งชายของหลั งคาตระการตา ด วยโลหะฉลุ ลาย ภายในอุ โบสถประดิ ษฐานพระพุ ทธรู ป จากพม า ด านหน าอุ โบสถเป นบั นไดปู นป นรู ปพญานาค ข างอุ โบสถเป นพระธาตุ เจดี ย ทรงกลมก ออิ ฐถื อปู น ภายใน ประดิ ษฐานพระบรมสารี ริ กธาตุ ซึ่ งอั ญเชิ ญมาจากประเทศ พม า น าเสี ยดายที่ วิ หารของวั ดศรี ชุ มเคยถู กไฟไหม ในคื นวั นที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๓๕ ขณะนั้ นท าน อู ป ญญา วั งสะ เจ าอาวาสชาวพม ารู ปที่ ๖ เป นผู เดี ยว ที่ เห็ นเหตุ การณ ต อมา คุ ณเพ็ ญจั นทร ธรรมวงศ ทายาทของผู สร างวั ดได ประสานงานกั บอธิ บดี กรม ศิ ลปากร ทำการบู รณะปฏิ สั งขรณ วิ หารซึ่ งถู กไฟไหม จนงดงามดั งป จจุ บั น
วั ดศรี ชุ ม วั ดศรี ชุ มสร างเมื่ อป พ.ศ. ๒๔๓๓ ได รั บพระราชทาน วิ สุ งคามสี เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๓๖ ได รั บการประกาศขึ้ น ทะเบี ยนโบราณสถาน ในป พ.ศ. ๒๕๒๔ วั ดนี้ สร างโดย คหบดี ชาวพม าผู มี นามว า จองตะก าอู โย ร วมด วย แม เลี้ ยงป อม และพ อเลี้ ยงอู หม อง ยี ผู เป นบุ ตรสาว และบุ ตรเขยของจองตะก าอู โย ในยุ คนั้ น มี ชาวพม า เข ามาอยู ในจั งหวั ดลำปาง จากการว าจ างของบริ ษั ท สั ญชาติ อั งกฤษที่ ได รั บสั มปทานการทำป าไม จึ งต องจ าง ชาวพม าผู เชี่ ยวชาญด านป าไม เข ามาทำงานด วย ทั้ งนี้ ยั งมี คหบดี ชาวพม าอี กส วนหนึ่ งซึ่ งหลบหนี เข ามาอาศั ย อยู ในไทย เมื่ อสมั ยพม าตกเป นเมื องขึ้ นของอั งกฤษ
Powered by FlippingBook