Quarter 3/2014

ในบรรดาวั ดที่ สร างโดยได รั บอิ ทธิ พลจากศิ ลปะพม า ซึ่ งขึ้ นทะเบี ยนโบราณสถานกั บกรมศิ ลปากร วั ดศรี ชุ ม ได รั บการยกย องว าเป นเลิ ศ อาคารซึ่ งขึ้ นทะเบี ยน โบราณสถานกั บกรมศิ ลปากรภายในวั ด ได แก วิ หาร ทรวดทรงแบบพม าและโบสถ ทรงมณฑปแบบพม า นอกจากนี้ ภายในวั ดยั งมี เจดี ย หอสวดมนต และกุ ฏิ สงฆ อั นสร างอย างวิ จิ ตรบรรจง บริ เวณกลางวั ดเป นที่ ตั้ งของวิ หารซึ่ งเป นอาคาร ๒ ชั้ น ชั้ นบนเป นไม ชั้ นล างเป นตึ กวิ หาร เป นอาคาร มี ยอดปราสาท ๕ ยอด ยอดปราสาทตรงกลางมี ยอดสู ง ลดหลั่ นกั น ๖ ชั้ น เรื อนยอดชั้ นสู งสุ ดประดั บฉั ตรทอง อั นเป นเอกลั กษณ ของประติ มากรรมพม า ยอดปราสาท ทางทิ ศเหนื อและใต มี ยอดสู งลดหลั่ นกั น ๕ ชั้ น ยอด ปราสาททางทิ ศตะวั นออกและตะวั นตก มี ยอดสู ง ลดหลั่ นกั น ๔ ชั้ น หลั งคาของยอดปราสาทประดั บ ด วยไม และสั งกะสี แกะสลั ก เหนื อบั นไดทางขึ้ น วิ หารทั้ งสองด านมี หน ามุ ขแกะสลั กลงรั ก ป ดทอง เป นรู ปตุ กตาพม ายื นอยู บนลาย เครื อเถา หน าบั นของหน ามุ ขเป นไม จำหลั ก ประดั บกระจกสี ฝ มื อของช างชาวพม า จากเมื องมั ณฑเลย ภายในวิ หารแห งนี้ เป นที่ ประดิ ษฐานพระพุ ทธรู ปจาก ประเทศพม า ทางทิ ศตะวั นออกของวิ หาร เป นที่ ตั้ งของ อุ โบสถทรงจั ตุ รมุ ข ก ออิ ฐฉาบปู นประดั บ กระจกสี หลั งคาทรงมณฑปย อมุ มไม สิ บสอง ประกอบด วยเรื อนยอด ๕ ยอด ยอดกลางสู ง ๗ ชั้ น ชั้ นสู งสุ ดประดั บฉั ตรทอง ตามเชิ งชายของหลั งคาตระการตา ด วยโลหะฉลุ ลาย ภายในอุ โบสถประดิ ษฐานพระพุ ทธรู ป จากพม า ด านหน าอุ โบสถเป นบั นไดปู นป นรู ปพญานาค ข างอุ โบสถเป นพระธาตุ เจดี ย ทรงกลมก ออิ ฐถื อปู น ภายใน ประดิ ษฐานพระบรมสารี ริ กธาตุ ซึ่ งอั ญเชิ ญมาจากประเทศ พม า น าเสี ยดายที่ วิ หารของวั ดศรี ชุ มเคยถู กไฟไหม ในคื นวั นที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๓๕ ขณะนั้ นท าน อู ป ญญา วั งสะ เจ าอาวาสชาวพม ารู ปที่ ๖ เป นผู เดี ยว ที่ เห็ นเหตุ การณ ต อมา คุ ณเพ็ ญจั นทร ธรรมวงศ ทายาทของผู สร างวั ดได ประสานงานกั บอธิ บดี กรม ศิ ลปากร ทำการบู รณะปฏิ สั งขรณ วิ หารซึ่ งถู กไฟไหม จนงดงามดั งป จจุ บั น

วั ดศรี ชุ ม วั ดศรี ชุ มสร างเมื่ อป พ.ศ. ๒๔๓๓ ได รั บพระราชทาน วิ สุ งคามสี เมื่ อป พ.ศ. ๒๔๓๖ ได รั บการประกาศขึ้ น ทะเบี ยนโบราณสถาน ในป พ.ศ. ๒๕๒๔ วั ดนี้ สร างโดย คหบดี ชาวพม าผู มี นามว า จองตะก าอู โย ร วมด วย แม เลี้ ยงป อม และพ อเลี้ ยงอู หม อง ยี ผู เป นบุ ตรสาว และบุ ตรเขยของจองตะก าอู โย ในยุ คนั้ น มี ชาวพม า เข ามาอยู ในจั งหวั ดลำปาง จากการว าจ างของบริ ษั ท สั ญชาติ อั งกฤษที่ ได รั บสั มปทานการทำป าไม จึ งต องจ าง ชาวพม าผู เชี่ ยวชาญด านป าไม เข ามาทำงานด วย ทั้ งนี้ ยั งมี คหบดี ชาวพม าอี กส วนหนึ่ งซึ่ งหลบหนี เข ามาอาศั ย อยู ในไทย เมื่ อสมั ยพม าตกเป นเมื องขึ้ นของอั งกฤษ

Powered by