Quarter 3/2014

เอกสารอ างอิ ง - กรรณิ การ จุ ฑามาศ สุ มาลี .ชาวยะวาในกรุ งเทพมหานคร (พ.ศ.๒๔๔๕-๒๔๙๒). - วิ ทยานิ พนธ ปริ ญญามหาบั ณฑิ ต, ภาควิ ชาประวั ติ ศาสตร คณะอั กษรศาสตร จุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย, ๒๕๒๘. - คณะกรรมการฝ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจั ดงานเฉลิ มพระเกี ยรติ พระบาทสมเด็ จพระเจ าอยู หั วภู มิ พลอดุ ลยเดช เนื่ องในโอกาส พระราชพิ ธี มหามงคลเฉลิ มพระชนมพรรษา ๖ รอบ (๕ ธั นวาคม ๒๕๔๒).วั ฒนธรรม พั ฒนาการทางประวั ติ ศาสตร เอกลั กษณ และภู มิ ป ญญาจั งหวั ดลำปาง.กรุ งเทพมหานคร : โรงพิ มพ คุ รุ สภา,๒๕๔๔. - คณะกรรมการฝ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจั ดงานเฉลิ มพระเกี ยรติ พระบาท สมเด็ จพระเจ าอยู หั วภู มิ พลอดุ ลยเดช เนื่ องในโอกาสพระราชพิ ธี มหามงคลเฉลิ มพระชนมพรรษา ๖ รอบ (๕ ธั นวาคม ๒๕๔๒). วั ฒนธรรม พั ฒนาการทางประวั ติ ศาสตร เอกลั กษณ และ ภู มิ ป ญญาจั งหวั ดสมุ ทรสงคราม.กรุ งเทพมหานคร : โรงพิ มพ คุ รุ สภา,๒๕๔๔. - คณะกรรมการสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร. คู มื อพั ฒนาแหล งท องเที่ ยวทางด านกายภาพประเภทวั ด เล มที่ ๒ วั ดในภาคเหนื อ.เสนอการท องเที่ ยวแห งประเทศไทย (ไม ปรากฏป ที่ จั ดพิ มพ ) - เอกสารอั ดสำเนา ย อนรอยเส นทางแพร ธรรมของสั งฆมณฑล ราชบุ รี (ไม ปรากฏนามผู จั ดทำและป ที่ จั ดพิ มพ ) ขอขอบคุ ณ พระครู สุ ตชยาภรณ เจ าอาวาสวั ดศรี ชุ ม บาทหลวงสมควร หมายแม น เจ าอาวาสอาสนวิ หารแม พระบั งเกิ ด คุ ณสุ เทพ สั ตยวิ นิ จ ผู ดู แลอาสนวิ หารแม พระบั งเกิ ด คุ ณจรู ญ ประเสริ ฐสมบู รณ ผู ดู แลมั สยิ ดยะวา

มั สยิ ดยะวา เป นสถาป ตยกรรม แบบเซอมารั ง (Semarang) อั นมี นามตามเมื องหลวงของจั งหวั ดชวา- กลาง ในประเทศอิ นโดนี เซี ย ตั วมั สยิ ดเป นอาคารชั้ นเดี ยว มี หลั งคา ๓ ชั้ น ภายในมั สยิ ดมี แท นแสดงธรรมเรี ยกว า มิ มบั ร ด านหน า มั สยิ ดมี ที่ ว างสำหรั บใช ในการสนทนาธรรม เรี ยกว า บาไล (Balai) เมื่ อข าพเจ าไปเยื อนมั สยิ ดแห งนี้ อยู ในช วงเวลา ถื อศี ลอด (เดื อนรอมาฎอน) คุ ณจรู ญ ประเสริ ฐสมบู รณ ผู ดู แลมั สยิ ดหรื อโต ะเซี้ ยะ ได สนทนากั บชาวพุ ทธอย าง ข าพเจ าด วยอั ธยาศั ยไมตรี ข าพเจ าเฝ ามองโต ะเซี้ ยะ ป ดกวาดมั สยิ ดจนสะอาดสะอ าน ช างเป นการงานอั นเกิ ด จากความศรั ทธาในศาสนาและความสำนึ กรั กถิ่ นฐาน บ านเกิ ด ทุ กวั น ตั้ งแต เช าจรดเย็ นมุ สลิ มผู นี้ จะมาประจำ อยู ที่ มั สยิ ดของเขาเพื่ อมาทำความสะอาด เก็ บกวาด ตลอดจนปฏิ สั นถารกั บผู มาเยื อน ด วยเงิ นเดื อน อั นน อยนิ ดและจิ ตใจที่ เต็ มไปด วยความรั บผิ ดชอบ โดยไม ต องมี ใครคอยควบคุ ม มั สยิ ดคื อศู นย รวมจิ ตใจของคนในชุ มชน แม ว า บางคนจะย ายออกไปทำมาหากิ นต างถิ่ นนานหลายป แต เมื่ อมี โอกาส เขาเหล านั้ นจะพากั นกลั บมาร วมงาน ประจำป บางคนเดิ นทางมาถื อศี ลอดในมั สยิ ด เพื่ อรำลึ ก ถึ งวั นเก าๆ สมั ยเมื่ อครั้ งยั งเยาว วั ย ในศาสนสถานอั น บรรพบุ รุ ษมอบไว ให เป นมรดกของชาติ คำสอนของศาสดาจากทุ กศาสนาเป นสมบั ติ ของโลก ส วนประติ มากรรมทางศาสนาเป นสมบั ติ ของชาติ ศาสนสถาน หาใช เพี ยงสถานที่ นมั สการพระเจ า หากแต ยั งเข าถึ งวิ ถี ของชุ มชน นั บตั้ งแต วั นเกิ ดไปจนวั นตาย วั ดศรี ชุ ม เป นสถานที่ จั ดงานรดน้ ำดำหั วในช วงเทศกาล สงกรานต อาสนวิ หารแม พระบั งเกิ ด มี สถานศึ กษา ชื่ อโรงเรี ยนดรุ ณานุ เคราะห มั สยิ ดยะวา มี หน วยสงเคราะห มั ยยิ ด เป นรถตู คอยเก็ บศพเมื่ อมี ผู เสี ยชี วิ ต ศาสนสถานทั้ งสามแห ง มิ ได ให คุ ณค าทางจิ ตใจ เท านั้ น แต ยั งได ให ความช วยเหลื อทางสั งคม สื บทอด วั ฒนธรรมชุ มชน ตลอดจนประเพณี ในวิ ถี ชี วิ ตของ ชาวไทย

โสมชยา ธนั งกุ ล เป นชาวกรุ งเทพฯ จบการศึ กษาจากจุ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลั ย ป จจุ บั นเป นคอลั มนิ สต ประจำวารสารแสตมป และสิ่ งสะสม (บริ ษั ทไปรษณี ย ไทย) วารสารวิ ทยาศาสตร  (สมาคมวิ ทยาศาสตร แห ง ประเทศไทยฯ) นิ ตยสาร ART SQUARE (กรมวั ฒนธรรมร วมสมั ย) และนิ ตยสารยานยนต ในป พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกวดเรื่ องสั้ นได รางวั ล ชนะเลิ ศจากสำนั กพิ มพ ตะวั นส อง

* ฮั จยี มู ฮั มมั ดซอและส บิ นฮาซั น คื ออิ หม ามหรื อผู นำชุ มชน มุ สลิ มคนแรกของมั สยิ ดยะวา

Powered by